นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 246

10 นิตยสาร สสวท. ตาราง 6 จำ �นวนผู้ตอบที่ระบุหัวข้อที่ยากและสาเหตุของความยากใน Core 3 กลศาสตร์ส่วนที่ 2 และคลื่นเม่เหล็กไฟฟ้า หัวข้อ ซับซ้อน มีคำ �ศัพท์ที่ไม่ คุ้นเคยมาก มีความสับสน กับเนื้อหาอื่น ไม่เชื่อมโยง กับชีวิตจริง ต้องใช้ทักษะ คณิตศาสตร์มาก ความรู้พื้นฐานของ ครูไม่เพียงพอ สภาพความพร้อม ของผู้เรียน สภาพแวดล้อมการ จัดการเรียนรู้ฯ สาเหตุอื่นๆ เป็น นามธรรม 13 11 12 16 11 16 11 17 14 21 15 34 36 34 31 34 29 29 31 33 31 25 14 16 23 16 22 11 19 15 20 19 9 14 12 12 4 15 11 13 6 12 10 9 5 3 8 7 6 7 7 6 8 8 3 47 50 48 38 38 31 38 35 36 27 31 3 3 4 4 3 3 4 2 4 3 2 23 21 23 22 23 25 21 20 20 18 24 3 4 1 0 2 2 1 0 0 1 2 1 1 1 3 1 3 1 3 1 1 3 การเคลื่อนที่ เเบบวงกลม การเคลื่อนที่เเบบ โพรเจกไทล์ ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับ ฮาร์มอนิกอย่างง่าย การชนและการดีดตัว แยกจากกัน การสั่นของมวลติดปลาย สปริง สมดุลต่อการหมุน การแกว่งของลูกตุ้ม อย่างง่าย การอนุรักษ์โมเมนตัม ลักษณะฯ ฮาร์มอนิกอย่างง่าย ความถี่ธรรมชาติและ การสั่นพ้อง สมดุลต่อการ เคลื่อนที่ 92 90 89 88 88 85 85 83 80 80 78 สาเหตุของความยาก และปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ดังแสดงในตาราง 6 โดยสาเหตุที่ทำ �ให้เนื้อหาใน Core 3 นี้ยากใน ลำ �ดับต้นๆ มาจากธรรมชาติของเนื้อหา นั่นคือ ต้องใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์มาก และความซับซ้อนของเนื้อหา ส่วนสาเหตุในลำ �ดับ รองลงมาคือ สภาพความพร้อมของผู้เรียน ทั้งนี้ สำ �หรับ Core อื่นๆ ที่มีดัชนีความยากน้อยกว่า 50.00 สามารถตีความได้ว่า มีสัดส่วนที่ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่า Core นั้น ไม่มีหัวข้อยากมากกว่ามีหัวข้อยาก ถึงแม้สัดส่วนนั้นในบาง Core จะไม่มาก แต่เพื่อความกระชับของบทความนี้จึงจะไม่นำ �เสนอที่นี้ จากผลการวิเคราะห์สาเหตุความยากของหัวข้อต่างๆ ในงานวิจัย จะเห็นได้ว่าสาเหตุหลักของความยากในการเรียนรู้ฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมาจากธรรมชาติของเนื้อหา ได้แก่ ความซับซ้อน ความเป็นนามธรรม และการต้องใช้ทักษะทาง คณิตศาสตร์มาก ส่วนสาเหตุสำ �คัญในลำ �ดับรองลงมา ได้แก่ สภาพความพร้อมของผู้เรียน และสภาพแวดล้อมในการจัดการเรียนรู้ ดังนั้น แนวทางหลักที่จะช่วยการแก้ปัญหาความยากในการเรียนรู้ฟิสิกส์จึงควรเป็นแนวทางที่ช่วยแก้ปัญหาที่สาเหตุมาจากธรรมชาติ ของเนื้อหาวิชา โดยอาจดำ �เนินการได้ ดังนี้ แยกเนื้อหาของหัวข้อที่ซับซ้อนเป็นส่วนย่อยๆ ที่ผู้เรียนสามารถทำ �ความเข้าใจได้ง่ายกว่าเพื่อลดความยากที่มีสาเหตุจาก ความซับซ้อนของเนื้อหา เน้นสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องและสร้างความมั่นใจให้กับผู้เรียนในเนื้อหาที่เป็นพื้นฐานสำ �หรับนำ �ไปต่อยอดในการเรียนรู้ เนื้อหาของหัวข้อที่ซับซ้อน จำ �นวน ผู้ตอบ หัวข้อยาก

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5