นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 246

ปีที่ 52 ฉบับที่ 246 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2567 13 ก ารจัดการเรียนรู้เชิงรุกมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีการตื่นตัวทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ การตื่นตัวทางกาย (Physically Active) การตื่นตัว ทางสติปัญญา (Intellectually Active) การตื่นตัวทางอารมณ์ (Emotionally Active) และการตื่นตัวทางสังคม (Socially Active) ดังภาพ 1 (Edwards, 2015; สำ �นักเลขาธิการสภาการศึกษา, 2563) การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างตื่นตัวทั้งสี่ด้าน จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ซึ่งการจัดการเรียนรู้ เชิงรุกมีวิธีการที่หลากหลาย เช่น การตื่นตัวทางกาย (Physically Active) เป็นการได้ เคลื่อนไหวร่างกาย ทำ �ให้ร่างกาย และประสาทรับรู้ตื่นตัวพร้อม ที่จะเรียนรู้ การตื่นตัวทางอารมณ์ (Emotionally Active) เป็นการมีอารมณ์ความรู้สึก ร่วมกับการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การตื่นตัวทางสังคม (Socially Active) เป็นการมีส่วนร่วมในการทำ � กิจกรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และได้รับข้อมูลย้อนกลับ จากผู้อื่น การตื่นตัวทางสติปัญญา (Intellectually Active) เป็นการใช้ความคิดและสติปัญญา ในการสร้างความเข้าใจ ในสิ่งที่เรียนรู้ ภาพ 1 Active Learning (Edwards, 2015; สำ �นักเลขาธิการสภาการศึกษา, 2563) ภาพ 2 วิธีการในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Edwards, 2015; Tyng et al., 2017; กฤษณพงศ์ เลิศบำ �รุงชัย, 2562; สำ �นักเลขาธิการสภาการศึกษา, 2563) การตื่นตัวทางกาย (Physically Active) การลงมือปฏิบัติ การประดิษฐ์ การสร้างแบบ จำ �ลอง การเรียนรู้โดยใช้เกม เป็นฐาน เกมมิฟิเคชั่น การใช้คำ �ถาม การสืบเสาะ การแสดงบทบาทสมมติ การใช้ผังมโนทัศน์ การใช้กระบวนการ เรียนรู้ต่างๆ เป็นฐาน เช่น การเรียนรู้ที่ใช้ปัญหา เป็นฐาน (PBL (Problem Based Learning)) การแสดงบทบาทสมมติ การเรียนรู้โดยใช้เกม เป็นฐาน เกมมิฟิเคชั่น การสร้างบรรยากาศที่ ปลอดภัย เป็นมิตร การรับฟัง การสะท้อนคิด การอภิปรายเป็นกลุ่ม การจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เช่น การแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น การเรียนรู้โดยใช้เกม เป็นฐาน เกมมิฟิเคชั่น การโต้วาที การตื่นตัวทางสติปัญญา (Intellectually Active) การตื่นตัวทางอารมณ์ (Emotionally Active) การตื่นตัวทางสังคม (Socially Active)

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5