นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 246
16 นิตยสาร สสวท. กิจกรรมวัฏจักรน้ำ �เป็นตัวอย่างของกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างตื่นตัวทั้งสี่ด้าน แต่ไม่ได้หมายความว่าจะต้อง เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างตื่นตัวครบทั้งสี่ด้านเสมอไปในกิจกรรม 1 กิจกรรม โดยบางกิจกรรมอาจปรากฏเพียงด้านใดด้านหนึ่งก็ได้ จะเห็นได้ว่า การเรียนรู้เชิงรุกไม่ใช่เรื่องใหม่และไม่ใช่เรื่องยาก ครูสามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้วิชาวิทยาศาสตร์ หรือวิชาอื่นๆ ในห้องเรียนได้อย่างหลากหลายแนวทางเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทำ �กิจกรรมที่เกิดการตื่นตัวทางกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ซึ่งจะส่งเสริมผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายและมีความสุข และในการจัดการเรียนการสอน แต่ละครั้งอาจมีจุดเน้นให้เกิดการตื่นตัวทั้งสี่ด้านหรือเน้นแต่ละด้านแตกต่างกันได้ Cambridge International. (2020). Active learning . University of Cambridge Local Examinations Syndicate (UCLES). Edwards, S. (2015). Active learning in the middle grades. Middle School Journal , May: 26-32. Tyng, C. M. & Amin, H. U. & Saad, M. N. M. & Malik, A. S. (2017). The Influences of Emotion on Learning and Memory. Frontiers in Psychology , Retrieved January 1, 2024, from https://doi.org/10.3389/fpsyg.2017.01454. กฤษณพงศ์ เลิศบำ �รุงชัย. (2562). การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification). สืบค้นเมื่อ 6 กันยายน 2566, จาก https://touchpoint.in.th/active-learning-gamification/. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2553). Active Learning. ข่าวสารวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . ประจำ �เดือนพฤศจิกายน 2553. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (2566). เทคนิคที่ใช้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แบบ Active Learning (สรุปเนื้อหาจาก Online Seminar โดย Mr.Glen D. Westbroek). สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2566, จาก https://www.ipst.ac.th/knowledge/39642/20230410-active-learning.html. สำ �นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก. กรุงเทพมหานคร: บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำ �กัด. บรรณานุกรม
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5