นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 246
ปีที่ 52 ฉบับที่ 246 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2567 17 ศุภณัฐ คุ้มโหมด | นักวิชาการ สาขาวิทยาศาสตร์ภาคบังคับ สสวท. | e-mail: skumm@ipst.ac.th การแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนเรื่องไฟฟ้า แนวคิดคลาดเคลื่อนหรือมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางวิทยาศาสตร์เป็นความรู้ความเข้าใจหรือความคิดที่ไม่สมบูรณ์ แตกต่าง หรือเบี่ยงเบนไปจากแนวความคิดที่เป็นที่ยอมรับทางวิทยาศาสตร์ในขณะนั้น (วันเพ็ญ คำ �เทศ, 2560) ซึ่งอาจเกิดจาก ประสบการณ์เดิมหรือการได้รับความรู้ที่ไม่ถูกต้อง ไม่สมบูรณ์ คลุมเครือ (สมเจตน์ อุระศิลป์ และ ศักดิ์ศรี สุภาษร, 2553) แนวคิดคลาดเคลื่อนอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประเภท ได้แก่ 1) อุปาทาน (Preconceived Notion) 2) ความเชื่อที่ไม่เป็น วิทยาศาสตร์ (Nonscientific Belief) 3) ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับมโนทัศน์ (Conceptual Misunderstanding) 4) มโนทัศน์ ที่คลาดเคลื่อนเนื่องจากภาษา (Vernacular Misconception) และ 5) มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับข้อเท็จจริง (Factual Misconception) (NRC, 1997; วันเพ็ญ คำ �เทศ, 2560) ภาพจาก: https://www.andersondiagnostics.com/ ของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นด้วย สื่ออินเตอร์แอ็คทีฟซิมูเลชัน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5