นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 246
ปีที่ 52 ฉบับที่ 246 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2567 43 OECD. (2019). PISA 2018 Assessment and Analytical Framework , PISA. Paris: OECD Publishing. PISA Thailand. (2566). กรอบการประเมินด้านการอ่าน. สืบค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2566, จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/about-pisa/reading_literacy_framework/. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ). (2566). เอกสารประกอบการแถลงข่าว ผลสอบ PISA สัญญาณเตือนวิกฤติการศึกษา แก้ปัญหาให้ถูกจุด. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2566, จา กhttps://tdri.or.th/2023/12/pisa-2022/. สำ �นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2566). ศธ.แถลงผลการประเมิน PISA 2022 . สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2566, จาก https://moe360.blog/2023/12/07/pisa-2022/. บรรณานุกรม จะเห็นได้ว่า แนวทางการใช้หนังสือเรียนทั้งในส่วนบทนำ � (ภาพ 1) อ่านเนื้อเรื่อง (ภาพ 2 - 3) และ ในหน้ากิจกรรม (ภาพ 4) ผู้สอนสามารถ ใช้หนังสือเรียนเป็นสื่อในการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ได้โดยใช้เทคนิคการใช้คำ �ถามหรือให้ภาระงานกับผู้อ่านเพื่อพัฒนา กระบวนการอ่านของผู้อ่านในด้านการรู้ตำ �แหน่งข้อสนเทศในบทอ่าน และ การมีความเข้าใจในบทอ่านตามกรอบการประเมินความฉลาดรู้ด้านการอ่าน ของ PISA (PISA Thailand, 2566) การจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียน ได้ฝึกการอ่านและส่งเสริมสมรรถนะด้านการคิดควบคู่กันไป ผู้สอนจะมี บทบาทสำ �คัญอย่างมากในการใช้สื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน หากผู้สอนต้องการตัวอย่างคำ �ถามเพื่อเป็นแนวทางในการจัด การเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ด้านการอ่านสามารถศึกษา เพิ่มเติมได้ในคู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับ ประถมศึกษาปีที 1 - 6 โดยดาวโหลดไฟล์คู่มือครูได้ในเว็บไซต์ https:// www.scimath.org/teacherguide2560 ภาพจาก: https://amplify.com/science-of-reading/
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5