นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 246
44 นิตยสาร สสวท. ณัฐวัฎ ยานสาร | โรงเรียนสิริรัตนาธร | e-mail: nattawat@srt.ac.th จุฑาทิพย์ นิ่มเชียง | โรงเรียนสิริรัตนาธร | e-mail: juthathip@srt.ac.th ผลไม้บางชนิดที่พบเห็นในชีวิตประจำ �วัน สกัดได้สารที่มีฤทธิ์เป็นกรดเรียกว่า กรดผลไม้ ในผลไม้แต่ละชนิดจะมี ชนิดของกรดแตกต่างกันออกไป เช่น กรดซิตริก กรดทาร์ทาริก กรดมาลิก กรดเหล่านี้มีประโยชน์แตกต่างกัน ออกไป แต่ที่นิยมมากคือ นำ �ไปใช้ในการดูแลผิวพรรณ เป็นส่วนผสมของสกินแคร์และเครื่องสำ �อางต่างๆ เนื่องจาก มีคุณสมบัติในการรักษาสิว ฝ้า รอยด่างดำ � นอกจากนี้ หากนำ �กรดผลไม้ไปผสมกับนมจะทำ �ให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ที่ส่งผลให้พอลิเมอร์ของนมคลายตัว และสามารถนำ �ไปขึ้นรูปใหม่เป็นพลาสติกได้โดยพลาสติกเป็นวัสดุที่คิดค้นขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ให้มีความสะดวกสบายขึ้นจากเดิม ในอดีตใช้วัสดุที่มาจากธรรมชาติผลิตเป็น ภาชนะทั้งสิ้น เช่น จานจากใบตอง หม้อจากดินเผา เครื่องสังคโลก แต่ในปัจจุบันล้วนถูกแทนที่ด้วยพลาสติก ทำ �ให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม เช่น พลาสติกใช้ระยะเวลาในการย่อยสลายเองตามธรรมชาตินาน มนุษย์จึง จัดการด้วยวิธีการฝังกลบทำ �ให้ดินเสื่อมคุณภาพ หากเผาทำ �ให้เกิดเป็นมลพิษทางอากาศ รวมไปถึงการทิ้งขยะ ไม่ถูกที่ ทิ้งตามพื้นที่สาธารณะ แหล่งน้ำ � จนส่งผลต่อสภาพแวดล้อม และสิ่งมีชีวิตตามมาด้วย การศึกษา กรดจากน้ำ �ผลไม้ ที่มีผลต่อ เคซีนพลาสติกิ ต ภาพจาก: https://www.aranca.com/knowledge-library/articles/business-research/bioplastics---a-sustainable-alternative-to-conventional-plastics
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5