นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 246
48 นิตยสาร สสวท. ต่างๆ การแยกเคซีนในนมโดยใช้กรดซิตริกความเข้มข้น 5%w/v ใน ปริมาตร 5, 10, 15, 20 และ 25 มิลลิลิตร ผสมในนมปริมาตร 50 มิลลิลิตร ผลการทดลองพบว่า ชุดการทดลองที่ 2 นมปริมาตร 50 มิลลิลิตร กับกรดซิตริก 10 มิลลิลิตร สามารถแยกเคซีนได้ปริมาตรมากที่สุด ดังนั้น ในการทดลองตอนที่ 2 จึงได้นำ �นมปริมาตร 50 มิลลิลิตรผสมกับ กรดผลไม้แต่ละชนิดในปริมาตรเท่ากัน คือ 10 มิลลิลิตร 9. วิธีการทดลองและผลการทดลองตอนที่ 2 เปรียบเทียบชนิด ของกรดจากน้ำ �ผลไม้ที่มีผลต่อเคซีนพลาสติก วิธีการทดลอง 1) คั้นน้ำ �ผลไม้จาก ฝรั่ง สับปะรด มะละกอ ส้ม และมะนาว และกรอง โดยใช้กระดาษกรอง นำ �เฉพาะน้ำ �ผลไม้ที่ได้มาทำ �การทดลอง 3) เทนม ปริมาตร 50 มิลลิลิตร ลงในบีกเกอร์จำ �นวน 15 ชุด 4) นำ �นมไปต้มบนเตาให้ความร้อน 2 นาที จนนมมีอุณหภูมิประมาณ 50 องศาเซลเซียส 5) ยกบีกเกอร์ออกจากเตา จากนั้นค่อยๆ เทกรดจากน้ำ �ผลไม้ที่ เตรียมไว้ลงในนมและคนอย่างช้าๆ อีก 2 นาที 2) นำ �น้ำ �ผลไม้แต่ละชนิด ใส่บีกเกอร์ปริมาตร 50 มิลลิลิตร อย่างละ 3 ชุด รวม 15 ชุด ภาพการทำ �การทดลอง 6) นำ �นมที่ผสมกรดจากน้ำ �ผลไม้ไปกรองด้วยกระดาษกรองตั้งทิ้งไว้ ประมาณ 2 ชั่วโมง เพื่อแยกเคซีนออกจากส่วนประกอบอื่น ๆ 7) นำ �เคซีนพลาสติกที่แยกได้มาซับด้วยกระดาษทิชชูให้แห้ง จากนั้น นำ �ไปชั่งมวล และบันทึกผลลงในตารางบันทึกผลการทดลองตอนที่ 2
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5