นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 246
ปีที่ 52 ฉบับที่ 246 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2567 49 เคซีนไม่แยกตัว 11 เคซีนแยกตัวเล็ก น้อย 11 13 เคซีนไม่แยกตัว 11 เคซีนแยกตัวเล็ก น้อย 10 10 เคซีนไม่แยกตัว 10 เคซีนแยกตัวเล็ก น้อย 11 11 9.1) วิธีการทดลอง ชุดการทดลอง มวลของเคซีน (กรัม) 1) นม 50 มิลลิลิตร + น้ำ �ฝรั่ง 10 มิลลิลิตร 2) นม 50 มิลลิลิตร+น้ำ �สับปะรด 10 มิลลิลิตร 3) นม 50 มิลลิลิตร + น้ำ �มะละกอ 10 มิลลิลิตร 4) นม 50 มิลลิลิตร + น้ำ �ส้ม 10 มิลลิลิตร 5) นม 50 มิลลิลิตร + น้ำ �มะนาว 10 มิลลิลิตร 0 10.67 0 10.67 11.33 ไม่สามารถนำ �มาปั้นหรือ ขึ้นรูปเป็นพลาสติกได้ ไม่สามารถนำ �มาปั้นหรือ ขึ้นรูปเป็นพลาสติกได้ ไม่สามารถนำ �มาปั้นหรือ ขึ้นรูปเป็นพลาสติกได้ สามารถนำ �มาปั้นหรือขึ้น รูปเป็นพลาสติกได้ สามารถนำ �มาปั้นหรือขึ้น รูปเป็นพลาสติกได้ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ค่าเฉลี่ย (กรัม) ลักษณะของ เคซีนพลาสติก 9.2) ผลการทดลองตอนที่ 2 กล่าวโดยสรุป การแยกเคซีนในนมโดยใช้กรดจากน้ำ �ผลไม้ (ฝรั่ง สับปะรด มะละกอ ส้ม และมะนาว) ปริมาตร 10 มิลลิลิตร ผสมในนม ปริมาตร 50 มิลลิลิตร ผลการทดลองพบว่า 1) น้ำ �มะนาว มีค่า pH ในช่วง 2.0 - 3.0 แยกเคซีนได้ดีที่สุด และน้ำ �ส้ม มีค่า pH ในช่วง 3.0 - 4.0 แยกเคซีนได้ดีในลำ �ดับรองลงมา จึงสรุปผลได้ว่ายิ่งมีค่าความเป็นกรดสูงจะสามารถแยกปริมาณเคซีนได้ดี และสามารถนำ �มาปั้นหรือขึ้นรูปเป็นพลาสติกได้ 2) น้ำ �สับปะรด มีค่า pH ในช่วง 3.2 - 4.1 ใกล้เคียงกับน้ำ �ส้ม สามารถแยกเคซีนออกจากนมได้ แต่ไม่สามารถนำ �มาปั้นหรือขึ้นรูปได้ เนื่องจากเมื่อแยกเคซีนออกมา เคซีนดังกล่าวรวมตัวเป็นก้อนคล้ายวุ้น ไม่ยึดติดกัน จึงไม่สามารถนำ �มาปั้นหรือขึ้นรูปให้เป็นพลาสติกได้ (ส่วน เหตุที่ทำ �ให้เคซีนมีลักษณะเป็นวุ้น จะต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมในครั้งถัดไป) 3) น้ำ �ผลไม้อีก 2 ชนิด คือ ฝรั่ง มะละกอ ไม่สามารถแยก เคซีนออกจากนมได้ เนื่องจากมีค่า pH สูงกว่าผลไม้ชนิดอื่น (ความเป็น กรดต่ำ �) จึงทำ �ให้อัตราส่วนไม่เหมาะสมคือ ปริมาตรนมเยอะแต่กรดผลไม้ มีไม่เพียงพอสำ �หรับการแยกเคซีน เมื่อได้เคซีนจากการใช้กรดผลไม้เติมลงไปในนมแล้ว จากนั้นนำ � เคซีนพลาสติกนี้ไปขึ้นรูปและนำ �ไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น ที่ห้อยโทรศัพท์ เข็มกลัด จี้ห้อยคอ กำ �ไลข้อมือ โดยมีตัวอย่างผลงานนักเรียน ดังภาพ พลาสติกที่ได้มาจากนมนั้นมีข้อดีคือ เป็นพลาสติกชีวภาพ ผลิตขึ้นจากวัสดุธรรมชาติ นมวัว และกรดจากผลไม้ชนิดต่างๆ ทำ �ให้ สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นการฝังกลบหรือนำ �ไป ผ่านกระบวนการหมักทางชีวภาพโดยที่ไม่มีสารเคมีตกค้าง ไม่เป็นอันตราย ต่อสิ่งแวดล้อม และยังสามารถเพิ่มมูลค่าของพลาสติกได้อีกด้วย neonics. (2024). Turn Milk into Plastic. สืบค้นเมื่อ 29 January, 2024, จาก https://www.tools.in.th/ph/ph-of-fruits/ Sandra Slutz. (2020). Turn Milk into Plastic. สืบค้นเมื่อ 29 January, 2024, จาก https://golink.icu/p0Ed3NK. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. บรรณานุกรม
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5