นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 246

6 นิตยสาร สสวท. ใ นการศึกษาเชิงสำ �รวจเพื่อระบุหัวข้อที่ยากและสาเหตุของความยากในการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ระดับ ม.ปลาย ได้แบ่งขั้นตอนการวิจัย ออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นการสำ �รวจความคิดเห็นครูผู้สอนวิชาฟิสิกส์ระดับ ม.ปลาย เพื่อระบุเนื้อหาที่ยากและสาเหตุของ ความยาก โดยผู้วิจัยได้กำ �หนดความหมายของคำ �ศัพท์สำ �คัญในแบบสอบถาม ดังแสดงในตาราง 1 ตาราง 1 ความหมายของคำ �ศัพท์ที่ใช้ในแบบสอบถามของงานวิจัย คำ �ศัพท์ หัวข้อที่ยาก เป็นนามธรรม มีความซับซ้อน มีคำ �ศัพท์ที่ไม่คุ้นเคยมาก มีความสับสนกับเนื้อหาอื่น ไม่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง ความรู้พื้นฐานของครูไม่เพียงพอ สภาพความพร้อมของผู้เรียน สภาพแวดล้อมการจัดการเรียนรู้ไม่ เหมาะสม ความหมาย หัวข้อที่มีเนื้อหาที่ผู้เรียนส่วนใหญ่ประสบปัญหาในการทำ �ความเข้าใจและ/หรือมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ต่ำ � ลักษณะของเนื้อหาที่ทำ �ให้ผู้เรียนมองเห็นเป็นรูปธรรมได้ยาก เนื้อหามีองค์ประกอบหลายองค์ประกอบที่ผู้เรียนต้องทำ �ความเข้าใจพร้อมกัน ไม่ว่า จะเป็น การอธิบาย กระบวนการทดลอง การใช้สมการ การแก้ปัญหา เนื้อหาประกอบด้วยคำ �ศัพท์เฉพาะทั้งภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศ โดยที่ผู้เรียน ไม่ทราบความหมายของคำ �ศัพท์เหล่านั้น หรือคำ �ศัพท์เหล่านั้นยากแก่การทำ �ความ เข้าใจ เนื้อหานั้นประกอบด้วยเนื้อหาย่อยที่มีกระบวนการ หรือเนื้อหาบางประการที่มีส่วนใด ส่วนหนึ่งคล้ายคลึงหรือเหมือนกันกับเนื้อหาอื่น ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความสับสนและ ไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่างเนื้อหาที่มีความซับซ้อนเหล่านั้นได้ เนื้อหานั้นไม่มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับการดำ �เนินชีวิตของผู้เรียน หรือการดำ �เนินชีวิต ของคนทั่วไป ครูผู้สอนไม่มีความรู้พื้นฐานเพียงพอ ขาดความมั่นใจที่จะปฏิบัติงานสอนใน เนื้อหานั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนขาดความพร้อมในการเรียนอันเนื่องมาจากปัจจัยหลายประการ เช่น ไม่สามารถปรับตัวได้ในชั้นเรียน ความเครียดในการเรียน ครอบครัว หรือผู้เรียน เบนความสนใจไปยังกิจกรรมอื่น การขาดแคลนสื่อและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ การไม่มีห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงปัญหาด้านการจัดสรรงบประมาณ ในส่วนแรกของงานวิจัยเป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการใช้วิธีสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) จากระดับภูมิภาค และขนาดโรงเรียน โดยได้ส่งแบบสอบถามความคิดเห็นแบบออนไลน์ (Google Forms) ที่ได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญและ จากการทดลองใช้ไปยังครูในกลุ่มตัวอย่าง หลังจากรวบรวมข้อมูลได้แล้ว ผู้วิจัยได้คัดกรองข้อมูลที่ผิดปกติและซ้ำ �ซ้อน และตรวจสอบ ความสมบูรณ์ของข้อมูล จนกระทั่งได้ข้อมูลที่สามารถนำ �มาศึกษาวิเคราะห์ต่อได้ จากการตอบแบบสอบถามของครูจำ �นวน 210 คน จาก 194 โรงเรียน ได้ข้อมูลทั่วไปของครูดังแสดงในตาราง 2 ในส่วนที่ 2 ของงานวิจัยเป็นการสนทนากลุ่ม (Focus Group) แบบออนไลน์ โดยผู้วิจัยได้เลือกครูที่ผ่านการตอบแบบสอบถาม ในส่วนแรกจำ �นวน 7 คนจาก 7 โรงเรียน ด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และได้ใช้คำ �ถามที่ได้ผ่านการตรวจสอบ คุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview)

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5