นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 246

ปีที่ 52 ฉบับที่ 246 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2567 7 ตาราง 2 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ - ชาย - หญิง 2. ประสบการณ์สอนฟิสิกส์ - ต่ำ �กว่า 3 ปี - 3 – 10 ปี - 11 – 20 ปี - 21 ปีขึ้นไป 3. ภูมิภาค - ภาคเหนือ - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - ภาคตะวันตก - ภาคกลาง - ภาคตะวันออก - ภาคใต้ 4. ขนาดของสถานศึกษา - ขนาดเล็ก (มีผู้เรียน 1-499 คน) - ขนาดกลาง (มีผู้เรียน 500-1499 คน) - ขนาดใหญ่ (มีผู้เรียน 1500-2499 คน) - ขนาดใหญ่พิเศษ (มีผู้เรียน 2500 คนขึ้นไป) 210 74 136 210 45 89 61 14 210 40 54 10 55 21 30 210 55 60 31 62 100.00 35.24 64.76 100.00 21.43 42.39 29.52 6.66 100.00 19.05 25.71 4.76 26.19 10.00 14.29 100.00 26.67 29.05 15.24 29.05 ข้อมูลที่ได้จากงานวิจัยส่วนแรก ได้นำ �มาวิเคราะห์โดยใช้สถิติบรรยาย (Descriptive Statistics) ด้วยการหาร้อยละเพื่อเปรียบเทียบ สัดส่วนของตัวแปรต้นต่างๆ และหาความถี่ของจำ �นวนผู้ตอบที่มีความเห็นเหมือนกันเพื่อเปรียบเทียบความยากและสาเหตุของความยาก ของหัวข้อต่างๆ นอกจากนี้ ในการเปรียบเทียบความยากระหว่างแกนเนื้อหาหลัก หรือ Core ที่แบ่งไว้จำ �นวน 7 Core ได้ใช้ดัชนีความยาก (Difficulty Index) ซึ่งเป็นสัดส่วนระหว่างจำ �นวนผู้ที่เคยสอน Core นั้นและเห็นว่า Core นั้นยาก กับจำ �นวนผู้ที่เคยสอน Core นั้น ทั้งหมดหาได้จากสมการ ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการวิจัยส่วนที่สอง ผู้วิจัยใช้วิธีการจัดระเบียบข้อมูล การตีความหมาย การตรวจสอบ และการหา ข้อสรุปแล้วนำ �ไปพิจารณาร่วมกับข้อมูลที่วิเคราะห์ได้จากส่วนแรก จากผลการวิจัยพบว่า ในจำ �นวน Core ทั้ง 7 Core ที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดในการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ระดับ ม.ปลาย Core ที่ 7 ฟิสิกส์แผนใหม่ที่ประกอบด้วยหัวข้อในบทเรียนฟิสิกส์อะตอม ฟิสิกส์นิวเคลียร์ และฟิสิกส์อนุภาค เป็น Core ที่มีดัชนีความยากสูงที่สุด คือ 57.14 และ Core ที่มีดัชนีความยากสูงในลำ �ดับรองลงมา 2 ลำ �ดับแรกได้แก่ Core 5 ไฟฟ้า แม่เหล็ก และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ดัชนีความยาก 56.32 และ Core 3 กลศาสตร์ส่วนที่ 2 ดัชนีความยาก 55.80 ตามลำ �ดับ ดังตาราง 3 (จำ �นวนผู้ตอบว่ายาก) x 100 ดัชนีความยาก = (จำ �นวนผู้ตอบทั้งหมด) - (จำ �นวนผู้ตอบว่าไม่ได้สอน) จำ �นวน (คน) สัดส่วน รายการ

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5