นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 247

54 นิตยสาร สสวท. การศึกษาความสัมพันธ์ของค่าความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันกับตัวแปรทางสภาพอากาศ โดยเป็นการศึกษาชนิด และปริมาณของผีเสื้อกลางวันที่พบกับปัจจัยทางด้านอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์อากาศ ชนิดเมฆและปริมาณเมฆปกคลุม และความเข้มของแสง ในพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ เราสามารถเรียนรู้และเข้าใจธรรมชาติผ่านการศึกษาแมลงและเชื่อมโยงกับข้อมูลทางด้านสิ่งแวดล้อมได้ โดยเริ่มจากพื้นที่ใน ชุมชนของเรา สำ �หรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคตจะเป็นภัยคุกคามต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่อาศัยบนโลกใบนี้ ดังนั้น การที่เรา ได้เรียนรู้ เพิ่มพูนความเข้าใจถึงสาเหตุ และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ จะส่งผลให้เราสามารถที่จะมีข้อมูล และนำ �ไป ประยุกต์ใช้เพื่อเตรียมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคตอันใกล้ การช่วยกันลดการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจก การอนุรักษ์แหล่งที่อยู่อาศัยของแมลง เช่น พื้นที่ป่า ทุ่งหญ้า และแหล่งที่อยู่อาศัยอื่นๆ ของแมลง จะช่วยให้โลกของเรามีความสมดุล ได้ทางหนึ่ง มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำ �หรับเยาวชน. สารานุกรมไทยสำ �หรับเยาวชน เล่มที่ 7 เรื่อง ครั่ง. สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2567, จาก https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/ book.php?book=7&chap=5&page=chap5.htm. ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดเชียงใหม่. ครั่ง. สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2567, จาก https://aopdb04.doae.go.th/%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0% B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87/. สำ �นักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. (2561) บันทึกโลกแมลง 4. สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2567, จาก https://www.dnp.go.th/FEM/ PDF/world%20of%20insect%204.pdf. สำ �นักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. (2562) บันทึกโลกแมลง 5. สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2567, จาก https://www.dnp.go.th/ FEM/PDF/world%20of%20insect%205.pdf. บรรณานุกรม ภาพจาก : https://www.oneearth.org/climate-change-behind-insect-borne-illness-rise/

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5