นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 248

14 นิตยสาร สสวท. กิจกรรมการเรียนรู้ คาบที่ 1 และ 2 1. กิจกรรม DIY Cloud Chamber นักเรียนศึกษาคู่มือจากเว็บไซต์ SjCool Lab ของเซิร์น 2. ครูเตรียมอุปกรณ์ที่หลากหลายให้นักเรียนเลือกใช้โดยพิจารณา ร่วมกับคู่มือ 3. ครูและนักเรียนร่วมกันประดิษฐ์ Cloud Chamber อย่างง่าย สังเกตร่องรอยของอนุภาค วิเคราะห์ประเภทของร่องรอยอนุภาค เทียบกับตารางลักษณะของอนุภาค 4. ครูเปิดวีดิทัศน์ที่เห็นอนุภาคชัดจากสื่อ YouTube: Cloud Chamber | Exploratorium 5. ครูอธิบายการเกิดร่องรอยของ Cloud Chamber โดยมีหลักการ ทำ �งานคือ อุณหภูมิส่วนบนจะใกล้เคียงกับอุณหภูมิห้อง ส่วน ด้านล่างจะมีอุณหภูมิต่ำ �จากน้ำ �แข็งแห้ง ทำ �ให้ไอด้านบนตกลงสู่ ด้านล่าง และเกิดภาวะอิ่มตัวยิ่งยวด (Supersaturation) เมื่อมี อนุภาคมีประจุจาก Cosmic Ray ผ่านไอแอลกอฮอล์ จะเกิด การควบแน่นของไอแอลกอฮอล์เกิดเป็นร่องรอยของอนุภาค ซึ่ง จะหายไปภายในไม่ถึงหนึ่งวินาที 6. ครูชวนนักเรียนคิดว่าถ้านำ �กัมมันตภาพรังสีใส่ ร่องรอยจะ เปลี่ยนไปอย่างไร 7. เชื่อมโยงไปยัง Cosmic Ray และ Standard Model 8. เชื่อมโยงไปยัง Particle Detector อื่น ๆ เช่น Bubble Chamber, DIY Particle Detector, CLOUD Experiment, The Compact Muon Solenoid (CMS), IceCube Neutrino Observatory. ภาพ 19 Cosmic Ray ที่มา: https://home.cern / science/physics/cos- mic-rays-particles-out- er-space ภาพ 21 การทดลอง IceCube ที่มา: https://icecube. wisc.edu/ science/ icecube/space ภาพ 20 การเกิดร่องรอยของอนุภาค ที่มา: https://en.wikipedia. org/wiki/ Cloud_chamber ภาพ 22 CLOUD Experiment ที่มา: https://home.cern /science/ physics/cosmic-rays-particles-out- er-space ภาพสื่อ/แหล่งเรียนรู้ ภาพกิจกรรม กิจกรรมที่ 3 DIY Cloud Chamber and Cosmic Ray Detector (100 นาที) ภาพ 23 - 26 ภาพกิจกรรม ภาพ 17 - 18 คู่มือ DIY - Cloud Chamber ที่มา: https://scoollab.web.cern.ch/particle-physics-games

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5