นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 248

16 นิตยสาร สสวท. นวัตกรรมของตัวนักเรียนในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์อนุภาคต่อไปใน อนาคต ผู้เขียนหวังว่าการแชร์ประสบการณ์ครั้งนี้จะสามารถเป็น แรงบันดาลใจให้ครูนำ �ไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ทั้งเป็นกิจกรรมเสริมใน วิชาฟิสิกส์ยุคใหม่ สอนในชุมนุม หรือจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อเผยแพร่ความรู้ ให้กับนักเรียนทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนได้ เพื่อให้นักเรียนได้มีองค์ความรู้ และแรงบันดาลใจในการเรียนฟิสิกส์ยุคใหม่ ซึ่งจะเป็นอีกหนึ่งศาสตร์สำ �คัญ ที่ทำ �ให้เกิดความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไป Kranjc Horvat, A. & Wiener, J. & Schmeling, S.M. & Borowski, A. (2022). What Does the Curriculum Say? Review of the Particle Physics Content in 27 High-School Physics Curricula. Physics, 4 : 1278–1298. Kersting, M. and other. (2024). Making an IMPRESSion: mapping out future directions in modern physics education. Physics Education, 59 : 1-9. Woithe, J. & Müller, A. & Schmeling, S. & Kuhn, J. (2022). Motivational Outcomes of the Science Outreach Lab S’Cool Lab at Cern: a multilevel analysis. Journal of Research in Science Teaching, 59 (6): 930–968. รักษพล ธนานุวงศ์. (2567). ผลการวิจัยเพื่อระบุหัวข้อยากและสาเหตุของความยากในการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ระดับ ม.ปลาย. นิตยสารสสวท., 52 (246): 5-11. บรรณานุกรม กิจกรรมการเรียนรู้ คาบที่ 1 - 4 ครูและนักเรียนตกลงเลือกเรียนเกี่ยวกับหัวข้อที่สนใจ เช่น 1. Climate Change 2. Medical Physics 3. Gravity 4. Beyond Bohr Model 5. Special Relativity 6. Dark Energy and Dark Matter หรืออาจเลือกหัวข้ออื่นๆ ตามเนื้อหาที่ระบุในหลักสูตรหรือตาม สถานการณ์เด่นในช่วงนั้น โดยครูสามารถดาวน์โหลดสื่อ วีดิทัศน์ ใบความรู้ และแนวทางการสอนจากเว็บไซต์ Perimeter Institute มาใช้ได้แบบไม่เสียค่าใช้จ่าย *หมายเหตุ* หัวข้อที่ไม่ได้จัดสอนในชุมนุมจริง เนื่องจากการจำ �กัด ของระยะเวลาเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ กิจกรรมที่ 5 Special Topics (200 นาที) ภาพ 35 ภาพชุดสื่อการเรียนรู้จาก PI ที่มา: https://resources.perimeterinstitute.ca/ collections/les- son-compilations ข้อเสนอแนะ จากกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เขียนได้จัดให้นักเรียนนั้น ไม่ได้เน้นเรื่องการคำ �นวณ ดังนั้น ครูอาจปรับใช้กิจกรรมบางกิจกรรม สอนเสริมควบคู่ไปกับเนื้อหาตามที่ระบุในหลักสูตร นอกจากนี้ หากมี อุปกรณ์พร้อมอาจมีการเพิ่มการทำ �ปฏิบัติการ เช่น การประดิษฐ์ DIY-Particle Detector หรือ Detecting X-ray Photons พร้อมการฝึกวิเคราะห์ผล ผ่านการโค้ช*จะทำ �ให้นักเรียนได้ทักษะปฏิบัติการและความรู้ในระดับที่สูงขึ้น และทำ �ให้เห็นภาพการประยุกต์ใช้ฟิสิกส์อนุภาคมากขึ้นอีกด้วย ซึ่งจะเป็น ประโยชน์ในการเกิดแรงบันดาลใจและสามารถต่อยอดในการพัฒนา ภาพจาก: https://iconscout.com/illustration/physics-course-and-lesson-5526279 *การโค้ช (Coaching) คือ กระบวนการช่วยเหลือ สนับสนุนเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของตัวผู้ถูกโค้ช ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือมีศักยภาพสูงขึ้น

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5