นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 248
ปีที่ 52 ฉบับที่ 248 พฤษภาคม - มิถุนายน 2567 3 ปีที่ 52 ฉบับที่ 248 พฤษภาคม - มิถุนายน 2567 เปิดเล่ม สสวท. สวัสดีค่ะผู้อ่านทุกท่าน ช่วงนี้ข่าว PM 2.5 เงียบหายไปเนื่องจากฝนมาเยือน พร้อมกับโรคหวัด และโควิด 19 ก็ยังคงมีอยู่ ทุกท่านต้องดูแลตัวเองด้วยการสวมใส่หน้ากากอนามัยโดยเฉพาะในที่ๆ มีคน พลุกพล่าน สถานะการณ์ในแต่ละวันมีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลากหลาย ทั้งไฟไหม้ น้ำ �ท่วม ซึ่งเป็น ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติบ้าง ความประมาทบ้าง ดังนั้น เราทุกคนควรต้องศึกษาข้อมูลและเรียนรู้ สิ่งเกิดขึ้นรอบตัวตลอดเวลา และเตรียมตั้งรับกับความผันผวนของโลกในปัจจุบัน จึงขอแนะนำ �ให้อ่าน บทความเรื่องเตรียมรับมืออย่างไร....ในการจัดการศึกษายุค BANI World ในนิตยสารเล่มนี้ เนื้อหานิตยสาร สสวท. นำ �เสนอข้อมูลหลากหลายทั้งความรู้ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา อาทิ การเล่นเชิงวิศวกรรม (Engineering Play) กับเด็กปฐมวัย วิกฤติโลกเดือด “ปะการังฟอกขาว” การเตรียม รับมืออย่างไรในการจัดการศึกษายุค BANI World นอกจากนี้ ได้นำ �เสนอบทความในเรื่อง การจัดการ เรียนรู้ Integrative STEM Education ด้วย Technological and Engineering Design Based Learning เรียนรู้ฟิสิกส์อนุภาคจากเซิร์น ผ่านชุมนุม CERN, Quarks and Particle Physics การเรียนรู้ พีชคณิตด้วยโปรแกรม Graspable Math เอาเป็นว่าเนื้อหาที่นำ �เสนอในเล่มยังคงเข้มข้นเหมือนเดิม นิตยสาร สสวท.ยังคงเปิดโอกาสให้นักวิชาการ ครู อาจารย์ ส่งบทความที่เกี่ยวข้องมานำ �เสนอ เช่นเดิม โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความมาได้ที่ e-mail: rmane@ipst.ac.th หรือ rmane2511@gmail. com ท่านสามารถติดตาม นิตยสาร สสวท. ฉบับออนไลน์ได้ที่ emagazine.ipst.ac.th และ Facebook http://facebook.com/ipstmag หวังว่าทุกท่านยังคงติดตามนิตยสารต่อไป และหากมีข้อเสนอแนะใดๆ ก็สื่อสารมาได้ตลอดเวลา เจ้าของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) 924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์: 0-2392-4021 ต่อ 3307 วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป 2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท. 3. เสนอความก้าวหน้าของวิทยาการในด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุนนการศึกษาของ ชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความเห็นต่างๆ เกี่ยวกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี จากครูและผู้สนใจ ทั่วไป (ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท. หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบ หรือแอบอ้างโดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วยจักเป็นพระคุณยิ่ง) คณะที่ปรึกษา ประธานกรรมการ สสวท. ผู้อำ �นวยการ สสวท. รองผู้อำ �นวยการ สสวท. หัวหน้ากองบรรณาธิการ ขจีรัตน์ ปิยกุล กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยผู้อำ �นวยการ ผู้อำ �นวยการสาขา/ฝ่าย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ/ผู้เชี่ยวชาญ ดร.ขจิต เมตตาเมธา จินดาพร หมวกหมื่นไวย ดร.ดวงกมล เบ้าวัน ทิพย์วรรณ สุดปฐม นันทฉัตร วงษ์ปัญญา ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ดร.ประวีณา ติระ ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว ดร.รณชัย ปานะโปย ดร.สนธิ พลชัยยา ดร.อรสา ชูสกุล ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ จิรวัฒน์ นิยะมะ จิราภรณ์ เจริญยิ่ง เทอด พิธิยานุวัฒน์ นิลุบล กองทอง รัชนีกร มณีโชติรัตน์ สินีนาฏ จันทะภา สิริมดี นาคสังข์ สุประดิษฐ์ รุ่งศรี ขจีรัตน์ ปิยกุล หัวหน้ากองบรรณาธิการ ปีที่ 52 ฉบับที่ 248พฤษภาคม - มิถุนายน 2567 1 ป ที่52 ฉบับที่248 พฤษภาคม -มิถุนายน2567 การเล่นเชิงวิศวกรรม (Engineering Play) กับเด็กปฐมวัย เรียนรู้ฟิสิกส์อนุภาคจากเซิร์นผ่านชุมนุมCERN,Quarks and Particle Physics ทฤษฎีบทหลักมูลของแคลคูลัส (Fundamental Theorem ofCalculus) สำ าคัญอย่างไรต่อการเรียนแคลคูลัส การเรียนรู้พีชคณิตด้วยโปรแกรมGraspableMath วิกฤติโลกเดือด “ปะการังฟอกขาว”
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5