นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 248
34 นิตยสาร สสวท. • การเรียนรู้แบบ Gamified: นักเรียนเรียนรู้ผ่านเกมและ กิจกรรมที่สนุกสนาน 4. กิจกรรมส่งเสริมทักษะชีวิตและคุณลักษณะอื่นๆ • การคิดบวก: ให้นักเรียนลองฝึกคิดบวก มองหาแง่ดี และ หาโอกาสจากปัญหาต่างๆ • การอดทน: ให้นักเรียนลองฝึกการอดทน มุ่งมั่น และ ไม่ย่อท้อต่อความยากลำ �บาก • การเห็นอกเห็นใจ: ให้นักเรียนลองฝึกการเห็นอกเห็นใจ เข้าใจ ผู้อื่น และช่วยเหลือผู้อื่น • การรับมือกับความเครียด: ให้นักเรียนลองฝึกการรับมือกับ ความเครียด ผ่อนคลาย และดูแลสุขภาพจิต ตัวอย่างกิจกรรมเหล่านี้ เป็นเพียงแนวทางคร่าวๆ ครูสามารถ ปรับประยุกต์ให้เหมาะสมกับบริบทและความต้องการของนักเรียน สิ่งสำ �คัญคือครูต้องเปิดใจต่อการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ พัฒนาทักษะ และปรับตัว ให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง เพื่อที่จะเป็น ผู้นำ � ผู้สนับสนุน ผู้ปลูกฝัง และ ผู้จุดประกายให้เด็กๆ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่พร้อมรับมือกับโลกยุค BANI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สรุปได้ว่าสถานการณ์การศึกษาในยุค BANI World จำ �เป็น อย่างยิ่งที่ต้องมีการจัดการกับปัญหาและความท้าทายเหล่านี้ ซึ่งย่อม เกี่ยวข้องโดยตรงกับหน่วยงานทางการศึกษาที่ต้องทำ �ความเข้าใจ และปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง หน่วยงานทางการศึกษามีหน้าที่ รับผิดชอบในการกำ �หนดนโยบายพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงกลุ่มบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา หน่วยงานทางการศึกษาควรมี นโยบายและดำ �เนินการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนและหรือ กิจกรรมเสริมสร้างพัฒนาสมรรถนะของผู้นำ �ทางการศึกษาให้สอดคล้อง กับบริบทของสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้อง กับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในปัจจุบันรวมถึงในอนาคตเพื่อ พัฒนาการจัดการศึกษาให้ประสบความสำ �เร็จอย่างมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้นต่อไป Abayomi Baiyere. (2020). Digital Disruption a Conceptual Clarification. Retrieved June 1, 2024, from https://www.researchgate.net/publication/339025684. เจริญ ภูวิจิตร์. (2565). ภาวะผู้นำ �ทางการศึกษาโลกยุคผันผวน. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2567. จาก http://www.nidtep.go.th/2017/publish/doc/20220906-1.pdf. โฟกัสนิวส์. (2567). สกศ.พัฒนาผู้เรียนรู้เท่าทันยุค BANI World โลกที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดิจิทัลให้อยู่รอดปลอดภัย สอดรับนโยบายรัฐบาล. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2567. จาก http://www.focusnews.in.th/28293. สำ �นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2566). ความเคลื่อนไหวการศึกษาไทยและการศึกษาโลก. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2567. จาก https://www.onec.go.th/th.php/book/ BookView/2071. บรรณานุกรม ภาพจาก: https://www.kompasiana.com/ albertgandhi/6312aa6f18333e0b0e- 1d1e44/indonesia-yang-kesepian ภาพจาก: https://www.diagnosti- chealthandinjury.com/science-posi- tive-thinking/ ภาพจาก: https://hyattfennell.com/why- patience-is-the-job-search-superpower- you-need/ ภาพจาก: https://www.npr. org/2020/08/31/907943965/you-2-0- empathy-gym
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5