นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 248
ปีที่ 52 ฉบับที่ 248 พฤษภาคม - มิถุนายน 2567 5 แคทลียา จักขุจันทร์ | นักวิชาการ สาขาวิทยาศาสตร์ภาคบังคับ สสวท. | e-mail: cchak@ipst.ac.th การเล่นเป็นหัวใจสำ �คัญของการเรียนรู้ในระดับปฐมวัย National Association for the Education of Young Children (NAEYC, 2020) ระบุว่า การเล่นเป็นแนวปฏิบัติในการจัดประสบการณ์ที่เอื้อต่อพัฒนาการ และการเรียนรู้ของเด็ก ซึ่งนอกจากจะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างสนุกสนานแล้ว การเล่นยังช่วยพัฒนาความคิด เชิงสัญลักษณ์ จินตนาการ ความสัมพันธ์ ภาษา ร่างกาย ทักษะการแก้ปัญหา การกำ �กับตนเอง ความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ (สสวท., 2563) การเล่นจึงเป็นสิ่งที่จําเป็น สําหรับเด็กทุกคนตั้งแต่วัยแรกเกิด การเล่นอย่างมีความหมายเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานที่เป็นองค์ประกอบ สำ �คัญในกระบวนการเรียนรู้ของเด็กเนื่องจากในขณะที่เด็กเล่นเด็กจะเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน (กระทรวง ศึกษาธิการ, 2561) การเล่นเชิงวิศวกรรม (Engineering Play) กับเด็กปฐมวัยี ที่ ั บี่ ิ ถุน ภาพจาก: Photo by Marcel Strauß on Unsplash
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5