นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 248
60 นิตยสาร สสวท. กำ �ลังขยายสูง แล้วนำ �ภาพเมลาโนโซมที่ได้ไปเปรียบเทียบกับเมลาโนโซมที่พบในนกที่ยังมีชีวิตอยู่ในยุคปัจจุบัน 87 ชนิด พบว่า Archaeopteryx มีเมลาโนโซมที่ทำ �ให้มองเห็นเป็นสี ดำ � เทา น้ำ �ตาล และลักษณะสีแบบเดียวกับที่พบในนกเพนกวิน จากผลการวิจัยทำ �ให้ได้ข้อสรุปว่าสีขนของ Archaeopteryx เกือบทั้งตัว หรือประมาณ 95% จะมีสีดำ � (ภาพ 2) คุณๆ สามารถเข้าไปศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ https://www.nature . com/articles/ncomms1642 จากงานวิจัยของ Carney, R. M., Vinther, J., Shawkey, M. D., d’Alba, L., & Ackermann, J. (2012). New evidence on the colour and nature of the isolated Archaeopteryx feather. Nature Communications, 3(1), 637. ไดโนเสาร์มีปีกตัวต่อมาที่ต่ายอยากจะเล่าให้ฟังก็คือ Anchiornis huxleyi ที่มีชีวิตอาศัยอยู่เมื่อ 155 ล้านปีมาแล้ว เป็นไดโนเสาร์ที่มีขนาด พอๆ กับไก่ หลังจากที่นักวิทยาศาสตร์ได้นำ �ฟอสซิลที่ขุดค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2552 มาศึกษาเมลาโนโซม ด้วยการถ่ายภาพส่วนของขนที่ ิ ต มนุษย์ไม่สามารถควบคุมธรรมชาติได้ และการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ทำ �ให้มนุษย์เข้าใจธรรมชาติมากขึ้น ภาพ 2 ภาพแสดงลักษณะและสีขนของ Archaeopteryx (อ้างอิง : Archaeopteryx in Color | California Academy of Sciences (calacademy.org )) ภาพ 3 ภาพวาดโดย Jana Růžičková แสดงการบินของ Archaeopteryx ที่มี ลักษณะการบินเหมือนไก่ฟ้า (อ้างอิง : Archaeopteryx flew like a pheasant, say scientists (bbc.com) ) ภาพ 4 ภาพซ้าย ภาพวาดแสดงสีขนของ Anchiornis huxleyi ที่ศึกษาโดยใช้ SEM (อ้างอิง : True-Color Dinosaur Revealed -- First Full-Body Rendering (nationalgeographic.com )) และ ภาพขวา ภาพวาด Anchiornis huxleyi โดย JULIUS T. CSOTONYI แสดงลักษณะสีขาของ Anchiornis huxleyi ที่ประมวลผลมาจากงานวิจัย หลายๆ เรื่องที่เกี่ยวกับเมลาโนโซมโดยใช้เทคนิคที่แตกต่างกัน (อ้างอิง : This May Be Our Best Idea of What a Dinosaur Really Looked Like (nationalgeographic.com )) ภาพ 5 ลักษณะของเมลาโนโซมกับการเกิดสีต่างๆ (อ้างอิง : https:// www.scientificamerican.com/article/fossil-pigments-reveal- the-true-colors-of-dinosaurs/) ต่าย แสนซน เป็นซากฟอสซิลโดยใช้กล้อง SEM แล้วนำ �มา เปรียบเทียบกับเมลาโนโซมของนกในยุคปัจจุบัน พบว่า เมลาโนโซมที่เป็นรูปแท่ง เรียกว่า Eumel- anosome จะเกี่ยวข้องกับการมีขนสีดำ �และสีเทา เมลาโนโซมรูปกลม เรียกว่า Phaeomelanosome จะให้สีในช่วงสีน้ำ �ตาลแดงไปถึงสีเหลือง (ภาพ 5) และถ้าเส้นขนบริเวณไหนไม่พบเมลาโนโซมก็จะ ทำ �ให้เส้นขนบริเวณนั้นเป็นสีขาว พอศึกษา หลายๆ บริเวณแล้วทำ �ให้พบว่า Anchiornis huxleyi มีขนสีน้ำ �ตาลแดง สีดำ � สีเทา และสีขาว (ภาพ 4) สำ �หรับลักษณะของขนสีน้ำ �ตาลแดง ที่บริเวณส่วนหัว นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า Anchiornis huxleyi น่าจะ ใช้ประโยชน์สำ �หรับการหาคู่ในช่วงฤดูสืบพันธุ์ เหมือนที่พบในนกใน ยุคปัจจุบัน ต่อมามีการศึกษาวิจัยสีขนของ Anchiornis huxleyi โดยใช้ เทคนิค ที่เรียกว่า “Laser-stimulated Fluorescence” ทำ �โดยยิงแสงเลเซอร์ เข้าไปที่ตัวอย่างฟอสซิลภายในห้องมืดแล้วดูการเรืองแสง เก็บข้อมูล ความยาวคลื่นที่สะท้อนออกมา เทคนิคนี้ทำ �ให้นักวิทยาศาสตร์ได้ข้อมูล ละเอียดมากขึ้นเกี่ยวกับสีขนของไดโนเสาร์และนี่เป็นพื้นฐานที่นำ �ไปสู่โลก แห่งสีสรรของไดโนเสาร์ที่เราจะเห็นในอนาคต จากเรื่องราวที่ต่ายนำ �เสนอต่ายเชื่อว่าน่าจะมีส่วนช่วยทำ �ให้คุณๆ ได้เห็นและเข้าใจถึง “ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์” ที่มีการเปลี่ยนแปลงจากการค้นพบสิ่งใหม่ ด้วยเทคนิคในการทดลองและ วิจัยใหม่ๆ เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาและเมื่อเรามีข้อมูลที่ละเอียดมากขึ้นก็จะทำ �ให้มนุษย์มองเห็นภาพอดีต เข้าใจสิ่งที่เกิดและเปลี่ยนแปลงในอดีตจนอาจจะทำ �ให้มนุษย์สามารถทำ �นายสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนโลกในนี้ได้แม่นยำ �มากขึ้น สุดท้ายหากสนใจหรืออยาก ให้ต่ายติดตามเรื่องเราวอะไรเป็นพิเศษ สามารถเขียน e-mail ส่งมาบอกกล่าว หรือมาคุยกับต่าย ได้เหมือนเดิมที่ funny_rabbit@live.co.uk 2 3
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5