นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 250

30 นิตยสาร สสวท. 7. จุดประกายด้วยหนังสือ สื่อ และสภาพแวดล้อม สร้างแรงบันดาลใจและประสบการณ์ทางวิศวกรรมโดยใช้นิทาน หนังสือภาพ นิตยสาร สื่อภาพ (Visuals) โปสเตอร์หรือบัตรภาพพร้อมคำ �ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมสำ �หรับเด็กปฐมวัย เพื่อจุดประกาย คำ �ถาม ปัญหาหรือโจทย์ความท้าทาย (Challenge) สำ �รวจแนวคิด คำ �ศัพท์ หรือแนะนำ �ไอเดียในกิจกรรมหรือการเล่นเชิงวิศวกรรมของเด็ก และจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อประสบการณ์ทางวิศวกรรมทั้งในและนอกห้องเรียน เช่น มุมบล็อก ศูนย์วิศวกรรม หรือพื้นที่นักประดิษฐ์ (Maker Space) สื่อปลายเปิด วัสดุที่หาได้ง่าย เครื่องมือหรืออุปกรณ์เล่นก่อสร้างที่ปลอดภัย ผู้เขียนได้คัดเลือกตัวอย่างหนังสือเกี่ยวกับ วิศวกรรมสำ �หรับเด็กปฐมวัยซึ่งสามารถเข้าถึงได้ทั้งแบบสื่อสิ่งพิมพ์และช่องทาง Youtube แสดงดังตาราง 2 ตาราง 2 ตัวอย่างหนังสือเกี่ยวกับวิศวกรรมสำ �หรับเด็กปฐมวัย ตัวอย่างหนังสือเกี่ยวกับวิศวกรรมสำ �หรับเด็กปฐมวัย Baby Loves Structural Engineering! เรื่องโดย Ruth Spiro ภาพโดย Irene Chan สำ �รวจโครงสร้างของสิ่งก่อสร้าง ต่างๆ รอบตัวเชื่อมโยงกับ การเล่นบล็อก Goldilocks and the Three Engineers เรื่องโดย Sue Fliess ภาพโดย Petros Bouloubasis กระตุ้นจินตนาการ และส่งเสริม การทำ �งานร่วมกันเป็นทีม Future Engineer (Future Baby) เรื่องโดย Lori Alexander ภาพโดย Allison Black เรียนรู้วิธีการทำ �งานของวิศวกร เชื่อมโยงกับสิ่งที่เด็กๆ ทำ � Look Inside How Things Work เรื่องโดย Rob Lloyd Jones ภาพโดย Stefano Tognetti สำ �รวจการทำ �งานของสิ่งประดิษฐ์ ต่างๆ รอบตัวหรือของใช้ในชีวิต ประจำ �วัน The Most Magnificent Thing เรื่องและภาพโดย Ashley Spires จุดประกายความคิดสร้างสรรค์ และส่งเสริมความเพียรพยายาม ไม่ย่อท้อให้แก่เด็ก งานก่อสร้างแสนสนุก ภาพโดย โดโร เกอเบล และเพเทอร์ คนอร์ แปลโดย ปีย์วรา ศุภดิษฐ์ สำ �รวจผู้คน วิธีการทำ �งาน เครื่องจักร ชุมชน และสิ่งต่างๆ ผ่านงานก่อสร้างตั้งแต่เริ่มต้น วิศวกรรมสำ �หรับเด็กปฐมวัยเกี่ยวข้องกับประสบการณ์ที่มุ่งเน้นกระบวนการคิดแบบวนซ้ำ � รวมถึงการทํางานเป็นทีมและสื่อสาร วิธีคิดผ่านการออกแบบเชิงวิศวกรรมซึ่งมีลักษณะปลายเปิด การจัดประสบการณ์วิศวกรรมสำ �หรับเด็กควรมีโจทย์หรือปัญหาที่เป็นข้อจำ �กัด หรือเกณฑ์ เช่น วัสดุ ความทนทาน เวลา เพื่อใช้ในการออกแบบแก้ปัญหาหรือพิจารณาวิธีแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็ก โดยมีแนวทางการส่งเสริมประสบการณ์ทางวิศวกรรมสำ �หรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ เน้นปัญหาเพื่อนำ �ไปสู่การออกแบบ ใช้การออกแบบเชิงวิศวกรรม บูรณาการวิศวกรรมกับสาขาต่างๆเชื่อมโยงประสบการณ์ในชีวิตจริง ใช้วิธีการที่หลากหลาย ใช้คำ �ถามกระตุ้นการคิดเชิงวิศวกรรม และจุดประกายด้วยหนังสือ สื่อ และสภาพแวดล้อม การส่งเสริมประสบการณ์ดังกล่าวสามารถทำ �ได้ทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการ

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5