นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 250
ปีที่ 52 ฉบับที่ 250 กันยายน - ตุลาคม 2567 31 American Society for Engineering Education. (2020). Framework for P–12 engineering learning: a defined and cohesive educational foundation for P–12 engineering . American Society for Engineering Education. https://doi.org/10.18260/1-100-1153-1. Cinar, S. (2019). Integration of Engineering Design in Early Education: how to achieve it. Cypriot Journal of Educational Science. 14 (4): 520–534. https://doi.org/10.18844/cjes.v11i4.4057. Cunningham, C.M. (2018). Engineering in Elementary STEM Education: curriculum design, instruction, learning and assessment. Teachers College Press. English, L. & Moore, T.J. (2018). Early Engineering Learning, Early Mathematics Learning and Development. Springer. https://doi.org/10.1007/978-981-10-8621-2_13. English, L. (2021). Integrating Engineering within Early STEM and STEAM Education. In Cohrssen, C., Garvis, S. (Eds), Embedding STEAM in Early Childhood Education and Care. Palgrave Macmillan. https://doi.org/10.1007/978-3-030-65624-9_6. Evangelou, D. & Bagiati, A. (2019). Engineering in Early Learning Environments. In Cohen, L. & Waite-Stupiansky, S. (Eds.), STEM in early childhood education. Taylor and Francis. Gold, Z. S. & Elicker, J. & Beaulieu, B. A. (2020). Learning Engineering through Block Play: stem in preschool. YC Young Children, 75 (2): 24–29. https://www.jstor.org/stable/26979142. Heroman, C. (2019). Making and Tinkering with STEM: solving design challenges with young children. The National Association for the Education of Young Children. Lippard, C.N. & Lamm, M. & Riley, K. (2017). Engineering Thinking in Prekindergarten Children: a systematic literature review. Journal of Engineering Education, 106 (3): 454–474. https://doi.org/10.1002/jee.20174. Lottero-Perdue, P. S. (2019). Engaging Young Children in Engineering Design: encouraging them to think, create, try and try again. In Cohen, L., & Waite-Stupiansky, S. (Eds.), STEM in Early Childhood Education. Taylor and Francis. Museum of Science. (2015). Engineering is Elementary. The Museum of Science. http://www.eie.org . National Academies of Sciences, Engineering, and Medicine. (2020). Building Capacity for Teaching Engineering in K-12 Education. The National Academies Press. https://doi.org/10.17226/25612. National Academies of Sciences, Engineering, and Medicine. (2022). Science and Engineering in Preschool through Elementary Grades: the brilliance of children and the strengths of educators. The National Academies Press. https://doi.org/10.17226/26215. Weigel, D. & Byington, T. & Kim, Y. (2019). Engineering in the Preschool Classroom. University of Nevada Cooperative Extension. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). กรอบการเรียนรู้และแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับ ปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพมหานคร: โกโกพริ้นท์ (ไทยแลนด์). สำ �นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำ �นักนายกรัฐมนตรี. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580). สำ �นักงานเลขานุการของคณะกรรมการ. https://www. nesdc.go.th/download/document/SAC/NS_PlanOct2018.pdf. บรรณานุกรม โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเป็นฐาน เช่น การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยให้ความสำ �คัญกับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมซึ่งผู้อ่านสามารถศึกษา แนวทางและตัวอย่างเพิ่มเติมจากบทความเรื่อง สะเต็มศึกษากับการส่งเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21 สำ �หรับเด็กระดับปฐมวัย https://emagazine.ipst.ac.th/237/10/ และบทความเรื่อง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มสำ �หรับเด็กปฐมวัย https://emagazine.ipst.ac.th/238/44/ รวมไปถึงการส่งเสริมประสบการณ์ทางวิศวกรรมในรูปแบบที่ไม่เป็นทางการอย่างการเล่น เชิงวิศวกรรมในสภาพแวดล้อมที่เน้นการเล่นเป็นฐาน ซึ่งเต็มไปด้วยโอกาสในการเรียนรู้วิศวกรรมที่เหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กปฐมวัย โดยผู้ใหญ่มีบทบาทสำ �คัญในการเป็นนั่งร้าน (Scaffolding) หรือการเสริมต่อการเรียนรู้ของเด็ก อีกทั้งยังช่วยส่งเสริม พัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กอย่างเป็นองค์รวมอีกด้วย ซึ่งผู้อ่านสามารถศึกษารายละเอียดได้จากบทความ การเล่นเชิงวิศวกรรม (Engineering Play) กับเด็กปฐมวัย https://emagazine.ipst.ac.th/248/5/ การส่งเสริมประสบการณ์ทางวิศวกรรมตั้งแต่ระดับปฐมวัยนั้นจะช่วยส่งเสริมให้เด็กมีความฉลาดรู้ทางวิศวกรรม ซึ่ง ครอบคลุมจิตนิสัยทางวิศวกรรม การปฏิบัติทางวิศวกรรม และความรู้ทางวิศวกรรม ซึ่งถือเป็นคุณลักษณะที่สำ �คัญในการทำ �งานของ นักประดิษฐ์ นวัตกร ผู้สร้าง นักออกแบบ และพลเมืองที่มีความรู้ (American Society for Engineering Education [ASEE], 2020) สอดคล้องกับเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ที่ให้ความสำ �คัญกับการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ตั้งแต่ระดับปฐมวัย โดยมุ่งเน้นทั้งทักษะและความรู้ในลักษณะสหวิทยาการ เช่น วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การเรียนรู้เชิงบูรณาการที่เน้นการลงมือปฏิบัติ หล่อหลอมทักษะการเรียนรู้และความคิด สร้างสรรค์ ตลอดจนการเรียนรู้ด้านวิชาชีพและทักษะชีวิต (สำ �นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2561) สามารถ ปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลง เผชิญกับปัญหาและความท้าทายได้ในอนาคตต่อไป
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5