นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 250
ปีที่ 52 ฉบับที่ 250 กันยายน - ตุลาคม 2567 51 ปัญหาการรุกรานของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่กำ �ลังคุกคามความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ ดั้งเดิมของประเทศไทย ปัจจุบันมีรายงานว่าพบชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในประเทศไทยกว่า 3,500 ชนิดและมีแนวโน้ม เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ปลาหมอคางดำ �เป็นอีกหนึ่งชนิดพันธุ์ที่กลายเป็นปัญหาสำ �คัญที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ และเศรษฐกิจของประเทศไทยในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ปัจจุบันการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วของปลาชนิดนี้ได้สร้าง ความเสียหายให้กับแหล่งน้ำ �ธรรมชาติ ทำ �ลายความหลากหลายทางชีวภาพ และส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของ ชาวประมงและเกษตรกรอย่างมาก ก ารรุกรานของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นเป็นภัยคุกคามที่ร้ายแรงต่อ ความหลากหลายทางชีวภาพอันดับสองรองจากการทำ �ลาย แหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ สหประชาชาติจึงได้มีการทำ � ข้อตกลงระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทาง ชีวภาพ (Convention on Biological Diversity; CBD) ซึ่งเป็นการตกลง ระหว่างประเทศฉบับแรกที่มีความพยายามอย่างมากในการจัดการชนิดพันธุ์ ต่างถิ่น ประเทศไทยได้ลงนามในอนุสัญญานี้เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2535 และเป้าหมายไอจิที่ 9 (Aichi Biodiversity Target 9) ที่กําหนด ไว้ว่า ภายในปี พ.ศ. 2563 ต้องจําแนก ระบุ และจัดลําดับความสําคัญ ของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานและเส้นทางแพร่กระจาย ควบคุมหรือกําจัด ชนิดพันธุ์ที่มีลําดับความสําคัญสูง และดําเนินมาตรการเพื่อจัดการเส้นทาง แพร่กระจายเพื่อป้องกันการนําเข้าและการตั้งถิ่นฐานรุกราน โดยสำ �นักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในฐานะหน่วย ประสานงานกลางแห่งชาติได้ดำ �เนินการรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลใน ทุกแผนการจัดการที่มีอยู่ทั้งในและต่างประเทศเพื่อประมวลผลและจัดทำ � แผนการจัดการชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีลำ �ดับความสำ �คัญสูงของประเทศไทย โดยได้ให้คำ �จำ �กัดความของ “ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีลำ �ดับความสำ �คัญสูง“ หมายถึง ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานที่มีลำ �ดับความสำ �คัญตามเกณฑ์ การจัดลำ �ดับความสำ �คัญของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีลำ �ดับความสำ �คัญสูงที่ ต้องมีการจัดการอย่างเร่งด่วน ภาพ 1 ชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ �ต่างถิ่นที่รุกรานที่มีลำ �ดับความสำ �คัญสูงของประเทศไทย ที่มา : กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เต่าแก้มแดง หรือเต่าญี่ปุ่น Trachemys scripta elegans ปลาหมอมายัน Mayaheros urphthalmus บทความนี้เป็นการเสริมความรู้เรื่องการรุกรานของปลาหมอคางดำ � และแนวทางการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมความตระหนักรู้ ให้กับผู้เรียน โดยหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา เล่ม 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 ได้กล่าวถึง เนื้อหา ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บทที่ 25 ปลาหมอคางดำ � (Oreochromis mossambicus) ถือเป็นชนิด พันธุ์ต่างถิ่น (Alien Species) ที่กำ �ลังสร้างความปั่นป่วนให้กับระบบนิเวศ ทางน้ำ �ของประเทศไทยอย่างรุนแรง การแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วของ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5