นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 250
52 นิตยสาร สสวท. ปลาชนิดนี้ส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้าง ความเสียหายให้กับเศรษฐกิจของชุมชนที่พึ่งพิงแหล่งน้ำ �เป็นอย่างมาก มี ถิ่นกำ �เนิดในทวีปแอฟริกา พบตั้งแต่ประเทศมอริเตอเนียไปจนถึงประเทศ คาเมอรูน มีรายงานการนำ �เข้าประเทศสหรัฐอเมริกาและหลายประเทศ ในทวีปเอเซียและทวีปยุโรป ลักษณะทางชีววิทยา รูปร่างสัณฐาน : เป็นปลาในวงศ์ปลาหมอสีที่มีลักษณะโดดเด่น และเป็นที่มาของชื่อเรียก โดยเฉพาะบริเวณใต้คางจะมีสีดำ �เข้มตัดกับสีตัว ที่ค่อนข้างอ่อนกว่าทำ �ให้สังเกตได้ง่าย ปลาชนิดนี้มีลักษณะภายนอก เมื่อระยะวัยอ่อนจะคล้ายคลึงกับปลาหมอเทศ เมื่อโตเต็มวัยจะสังเกต ได้ชัดขึ้น ปลาหมอคางดำ �ขนาดโตเต็มวัยอาจมีขนาดลําตัวยาวถึง 20.32 เซนติเมตร หรือมากกว า ขนาดที่พบทั่วไป 17.5 เซนติเมตร มีขนาดความยาว สูงสุด 28 เซนติเมตร ขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ์ 13.2 เซนติเมตร (fishbase, 2017) เป็นปลาที่ทนต่อความเค็มในช่วงกว้างตั้งแต่ 0->30 ส่วนในพันส่วน (ppt) การจําแนกเพศของปลาหมอคางดําจากภายนอกไม ชัดเจน เมื่อโต เต็มวัยปลาหมอคางดําเพศผู จะมีสีดําบริเวณหัวและบริเวณแผ นป ดเหงือก มากกว าเพศเมีย ภาพ 2 ภาพเปรียบเทียบลักษณะภายนอกปลาหมอคางดำ �และปลานิล ที่มา : https://www.thaipost.net/environment-news/622863/ ปลาหมอคางดำ � ปลานิล ปลาหมอคางดำ � และ ปลานิล เป็นปลาสองชนิดที่มักถูกนำ �มา เปรียบเทียบกันบ่อยครั้ง เนื่องจากทั้งสองชนิดมีรูปร่างคล้ายคลึงกัน และมักพบ ในแหล่งน้ำ �จืดของประเทศไทย แต่แท้จริงแล้วทั้งสองชนิดมีความแตกต่างกัน อย่างชัดเจน การสืบพันธุ์ : ปลาชนิดนี้สามารถผสมพันธุ วางไข ได ตลอดทั้งป จากการสังเกตที่พบลูกปลาขนาดเล็กได ทั้งป และมีอัตราการเจริญเติบโต และการสืบพันธุ์ที่รวดเร็ว สามารถวางไข่ได้จำ �นวนมากและบ่อยครั้ง ทำ �ให้ ประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และสามารถสืบพันธุ์ได้ทั้งในน้ำ �เค็มและ น้ำ �จืด ไข่สีส้มมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 - 4.5 เซนติเมตร พ่อแม่มีการผสมพันธุ์บริเวณน้ำ �ตื้นใกล้ชายฝั่ง เป็นปลาประเภทที่ พ่อแม่มีการดูแลลูก (Parental Care) จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ส่งผลต่อ อัตรารอดตายที่สูง ระยะเวลาฟักไข่เฉลี่ย 14 วัน สามารถขยายจำ �นวน ประชากรได้เป็นสองเท่าภายในระยะเวลา 1.4 - 4.4 ปี อาหาร : ชอบหากินบริเวณพื้นท้องน้ำ �ในธรรมชาติ กินพืช แพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนสัตว์ กุ้ง ปู หอย ปลาและไข่ปลาเป็น อาหาร เนื่องจากปลาหมอคางดำ �มีระบบย่อยอาหารที่ทำ �งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพและกินได้หลากหลาย มีอัตราการเผาผลาญสูง ทำ �ให้ สามารถย่อยอาหารได้อย่างรวดเร็วและนำ �ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ ส่งผลให้มันต้องการอาหารในปริมาณมากเพื่อหล่อเลี้ยงร่างกายที่เติบโต อย่างรวดเร็ว ความก้าวร้าว : ปลาหมอคางดำ �มีพฤติกรรมการล่า ก้าวร้าว ต่อปลาชนิดอื่น โดยเฉพาะปลาขนาดเล็ก ทำ �ให้ปลาท้องถิ่นหลายชนิด ลดจำ �นวนลงหรือสูญพันธุ์ไป การแพร่ระบาดปลาหมอคางดำ �ในประเทศไทย ในประเทศไทย ปลาหมอคางดำ �ถูกนำ �เข้ามาจากกานาเมื่อ พ.ศ. 2553 โดยบริษัทเอกชนเพื่อทดลองเลี้ยง โดยได้รับอนุญาตจาก กรมประมง แต่ไม่ประสบความสำ �เร็จ แม้ว่าจะมีการแจ้งเหตุความเสียหาย ต่อกรมประมงไปแล้ว แต่เมื่อ พ.ศ. 2555 กรมประมงได้รับรายงาน การแพร่กระจายเป็นครั้งแรกในพื้นที่ตำ �บลยี่สาร อำ �เภออัมพวา จังหวัด สมุทรสงคราม ปี พ.ศ. 2566 ปลาหมอคางดำ �เป็นสายพันธุ์ที่ถูกห้ามนำ �เข้ามา ในประเทศ จากการสำ �รวจพบว่าปลาชนิดนี้กำ �ลังแพร่กระจายพันธุ์ อย่างรวดเร็วในภาคกลาง โดยพบมากเป็นพิเศษในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และสมุทรปราการ และยังมีรายงานการพบเห็นที่จังหวัด ชุมพรด้วย ปี พ.ศ. 2567 ปลาหมอคางดำ �กลายเป็นวาระแห่งชาติ เนื่องจาก พบการระบาดรุนแรงในหลายพื้นที่มากขึ้นเรื่อยๆ สร้างความเสียหาย ให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาและกุ้งจำ �นวนมาก รัฐบาลประกาศว่าจะกำ �จัด ปลาหมอคางดำ �ให้สิ้นซาก หนึ่งในวิธีควบคุมประชากรปลาที่นิยมใช้คือ การปล่อยปลานักล่า เช่น ปลากะพงขาว ลงสู่แหล่งน้ำ �ธรรมชาติ การระบาด ครั้งใหญ่ของปลาหมอคางดำ �คุกคามสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นและชนิดใกล้ สูญพันธุ์บริเวณแหลมแม่พิมพ์และทะเลสาบสงขลา นอกจากนี้ ยังพบว่า ปลาหมอคางดำ �รุกรานแหล่งน้ำ �ในเขตชานเมืองและใจกลางกรุงเทพมหานคร ด้วย ความเสียหายทางเศรษฐกิจ มีความเสียหายต่อการประมง เนื่องจากปลาหมอคางดำ �กิน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5