นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 251
ปีที่ 53 ฉบับที่ 251 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2567 37 นักเรียนในชั่วโมงต่อไป และหาโอกาสให้นักเรียนได้แสดงศักยภาพด้านหุ่นยนต์อัตโนมัติที่องค์กรภายนอกจัดแข่งขัน โดยครูได้ ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้แนวคิดเชิงคำ �นวณ การคิดเชิงตรรกะ มีกระบวนการคิดและการทำ �งานอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมให้ นักเรียนสามารถใช้อัลกอริทึม (Algorithm) ในการเขียนคำ �สั่งหุ่นยนต์อัตโนมัติเพื่อแก้โจทย์ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ ครูที่ผ่านการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำ �นวณด้วยหุ่นยนต์อัตโนมัติ ร้อยละ 100 มีผลงานเชิงประจักษ์ใน ระดับชาติ ได้รับรางวัลผู้ฝึกสอนเหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง ในการแข่งขันหุ่นยนต์ สพฐ. งานศิลปหัตถกรรม ระดับชาติ ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 2. ผลงานนักเรียน นักเรียนมีสมรรถนะด้านเทคโนโลยี (หุ่นยนต์อัตโนมัติ) มีทักษะการคิดเชิงคำ �นวณ การคิดเชิงตรรกะ มีกระบวนการคิด อย่างเป็นระบบ ผ่านการเขียนโปรแกรมคำ �สั่งหุ่นยนต์อัตโนมัติ มีผลลัพธ์เชิงประจักษ์ที่เกิดจากนักเรียน ได้แก่ นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง เหรียญเงิน และเหรียญทองแดงในการแข่งขันหุ่นยนต์ สพฐ. งานศิลปหัตถกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 70 ปี การศึกษา 2565 จำ �นวน 9 รายการ Algorithm การเขียนโปรแกรมคำ �สั่ง 3. ผลงานสถานศึกษา สถานศึกษา จำ �นวน 200 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 มีการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยนำ �ตัวชี้วัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาระเทคโนโลยีมาใช้ในปีการศึกษา 2567 และสถานศึกษาที่ร่วมเป็นเครือข่ายการพัฒนา ร้อยละ 100 ได้ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำ �นวณด้วยหุ่นยนต์อัตโนมัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดผลลัพธ์เชิงประจักษ์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ รองชนะเลิศ และรางวัลเหรียญทองการแข่งขันหุ่นยนต์ งานศิลปหัตถกรรมระดับเขตพื้นที่การศึกษา ครั้งที่ 71 ปีการศึกษา 2566 4. ความพึงพอใจของผู้รับการนิเทศ ผู้ประเมินความพึงพอใจ เป็นผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ที่ผ่านการดำ �เนินการพัฒนากระบวนการ จัดการเรียนรู้วิทยาการคำ �นวณด้วยหุ่นยนต์อัตโนมัติ ภายใต้โครงการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูสู่ห้องเรียนคุณภาพ สำ �นักงาน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5