นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 251
ปีที่ 53 ฉบับที่ 251 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2567 45 ปิยะนุช เขียวอร่าม | นิสิตปริญญาเอก สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | e-mail: piyanuch.kie@ku.ac.th รศ. ดร.เอกรัตน์ ทานาค / ผศ. ดร.เอกภูมิ จันทรขันตี / ดร.อรุณี เอี่ยมใบพฤกษ์ | สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา ภาควิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ชุมนุมนักประดิษฐ์ บนฐานกระบวนการคิด เชิงออกแบบ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking Process) เป็นเครื่องมือสำ �คัญในการพัฒนาทักษะ แห่งอนาคต โดยเน้นการเรียนรู้จากความล้มเหลว ช่วยให้นักเรียนปรับตัวและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ พร้อมฝึกการคิดวิเคราะห์และสร้างนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ความท้าทายของโลกยุคปัจจุบัน ก ระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking Process) เป็น แนวทางในการแก้ปัญหาที่ซับซ อนซึ่งคำ �นึงถึงความต องการและ อารมณ ของผู ใช งาน (Brown, 2009) เน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ และการมีส่วนร่วมของมนุษย์เป็นศูนย์กลางเพื่อแก้ปัญหา เป็นกระบวนการที่ มีลักษณะเป็นวงจรและไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหมายความว่าสามารถย้อนกลับ ไปแก้ไขปรับปรุงในแต่ละขั้นตอนเพื่อหาทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุด เน นการคิด อย่างยืดหยุ น การเรียนรู จากความล มเหลว และการปรับปรุงอย างต อเนื่อง (Silva, E.,2009) บทความนี้ผู เขียนประยุกต ใช กรอบแนวคิดกระบวนการคิด เชิงออกแบบของ Stanford d.school (2010) โดยมีขั้นตอนของ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การเข้าอกเข้าใจ (Empathize) คือ การทำ �ความเข้าใจ ความต้องการ ความท้าทาย และความรู้สึกของผู้ใช้งาน 2. การนิยามปัญหา (Define) คือ การระบุปัญหาที่ชัดเจน จากข้อมูลและความเข้าใจที่ได้จากขั้นตอนที่ 1 3. การระดมความคิด (Ideate) คือ การแบ งป นแนวคิดและ ประสบการณ ร วมกันเพื่อสร้างสรรค์แนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาที่ หลากหลาย 4. การสร้างต้นแบบ (Prototype) คือ สร้างต้นแบบขนาดเล็ก เพื่อทดสอบความเป็นไปได้ของแนวคิด 5. การทดสอบ (Test) คือ การทดสอบต้นแบบกับผู้ใช้งานจริง เพื่อรับข้อเสนอแนะและนำ �มาปรับปรุง แสดงรายละเอียดดังภาพ 1 เมื่อพูดถึงกระบวนการออกแบบจากประสบการณ ของผู ใช (User Experience Design Process) จะพบว ามีป ญหาบางประเภทที่ ไม สามารถแก ไขได ด วยวิธีการเดียวในทุกสถานการณ ป ญหาเหล านี้เรียกว า “Wicked Problems” ซึ่งเป นป ญหาที่ซับซ อนและไม มีคำ �ตอบที่ชัดเจน เช น ภาพจาก: https://greatness.com/design-thinking-101/ ภาพ 1 ขั้นตอนของกระบวนการคิดเชิงออกแบบ ที่มา: Stanford d.school Design Thinking Process (Schmarzo, 2017) การจัดการขยะในชุมชนหรือการจัดการน้ำ �ท่วมในพื้นที่เมือง (Buchanan, R.,1992) แนวทางการแก ไขที่ใช สำ �หรับป ญหาแบบนี้จึงจำ �เป นต องมีความ ยืดหยุ น เป ดกว างต่อการเปลี่ยนแปลง กระบวนการคิดเชิงออกแบบจึง เข ามามีบทบาทสำ �คัญเนื่องจากเป นแนวทางที่มุ งเน นการแก ป ญหาโดยการ ทำ �ความเข าใจความต องการของผู ใช และการสร างสรรค วิธีแก ไขที่สร าง ผลกระทบสูงที่สุด กระบวนการคิดเชิงออกแบบมีความสอดคล้องกับแนวทาง การพัฒนานักเรียนในโลกอนาคตเป็นอย่างมากเนื่องจากสามารถส่งเสริม ทักษะที่จำ �เป็นในศตวรรษที่ 21 ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย างรวดเร็วและซับซ อน ไม่ว่าจะเป็นการคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) การแก้ปัญหา (Problem Solving) การทำ �งานร่วมกัน (Collaboration) ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) การปรับตัว (Adaptability) และการเข าใจความต องการของ ผู อื่น (Empathy) (Silva, E.,2009) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1. พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การคิดเชิงออกแบบ ช่วยให้นักเรียนมองปัญหาจากหลากหลายมุมและแก้ไขด้วยวิธีใหม่ๆ ที่ ตอบโจทย์ความต้องการมนุษย์ (IDEO, 2015)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5