นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 251
46 นิตยสาร สสวท. ซึ่งกันและกัน 2. การระบุและทำ �ความเข้าใจปัญหา (Empathy) นักเรียน โรงเรียนประจำ �อาจเผชิญกับปัญหาเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำ �วัน ซึ่งต างจากนักเรียนในโรงเรียนปกติ เช่น การจัดการเวลาหรือการอยู่ร่วมกัน ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการทำ �ความเข้าใจปัญหาที่พวกเขาเลือกมาหาวิธีทำ �การ แก้ไข การสัมภาษณ์เพื่อนนักเรียน ครูและบุคลากรอื่นๆ ในโรงเรียนเพื่อให เข าใจมุมมองและความต องการที่มีต อการแก ป ญหาอย างแท จริง 3. การระดมสมองและสร้างแนวคิด (Ideation) นักเรียนจะได้ ฝึกฝนการคิดสร้างสรรค์และเสนอแนวคิดใหม่ๆ ผ่านกิจกรรมการระดมสมอง เป็นกลุ่มภายใต้สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น อย่างเปิดเผยเพื่อให้เกิดแนวคิดที่หลากหลายสำ �หรับนำ �ไปใช้แก้ปัญหาที่ พบเจอในโรงเรียน 4. การสร้างต้นแบบ (Prototype) ในชุมนุมนักประดิษฐ์ นักเรียนสามารถนำ �แนวคิดมาออกแบบและสร้างต้นแบบโดยใช้วัสดุและ ทรัพยากรที่มีอยู่ในโรงเรียนเพื่อทดสอบและปรับปรุงแนวคิดให สามารถ แก ป ญหาได อย างมีประสิทธิภาพมากที่สุด การมีเวลาร่วมกันที่ยาวนาน ในโรงเรียนประจำ �ช่วยให้นักเรียนสามารถทดลองและปรับปรุงต้นแบบได้ อย่างต่อเนื่อง 5. การทดสอบและรับฟังผลตอบรับ (Testing and Feedback) หลังจากการสร้างต้นแบบ นักเรียนสามารถนำ �ผลงานไปทดสอบใน สถานการณ์จริงภายในโรงเรียนเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากเพื่อนและบุคลากร อื่นๆ ที่เกี่ยวข อง และนำ �ข อเสนอแนะมาใช ในการปรับปรุงต้นแบบทำ �ให้ นักเรียนได้พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและเพิ่มโอกาสในการสร้างนวัตกรรม ที่เป็นประโยชน์อย่างแท้จริง 6. การสะท้อนและพัฒนาต่อเนื่อง (Reflection and Continuous Improvement) นักเรียนในโรงเรียนประจำ �มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิด เห็นกับเพื่อนๆ หรือครูที่ปรึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยชุมนุมนักประดิษฐ์ จะส งเสริมการเป นพื้นที่เรียนรู้ที่เน้นการแก้ปัญหาผ่านการคิดเชิงออกแบบ ซ้ำ �แล้วซ้ำ �อีก เน้นการเรียนรู้จากความล้มเหลวและการปรับตัวเพื่อพัฒนา แนวทางใหม่ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด รายละเอียดการบูรณาการกระบวนการคิดเชิงออกแบบในชุมนุม นักประดิษฐ์แสดงได้ดังภาพ 2 2. ส่งเสริมการทำ �งานเป็นทีมและการสื่อสาร กระบวนการนี้กระตุ้น ให้นักเรียนทำ �งานร่วมกัน พัฒนาทักษะการฟัง การแสดงความคิดเห็น และการทำ �งานในสภาพแวดล้อมสร้างสรรค์ (Dorst, 2011) 3. ความสามารถในการปรับตัวและเรียนรู้ตลอดชีวิต กระบวนการ คิดเชิงออกแบบสนับสนุนการทดลองและการเรียนรู้จากข้อผิดพลาด ทำ �ให้นักเรียนปรับตัวได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว (Brown, 2009) 4. การพัฒนาความเข้าอกเข้าใจและการออกแบบเพื่อมนุษย์ ความเข้าอกเข้าใจช่วยให้นักเรียนพัฒนาวิธีแก้ปัญหาที่ตรงกับความต้องการ ของผู้ใช้ เสริมสร้างความเป็นผู้นำ �และการทำ �งานในสังคมหลากหลาย (Kolko, 2015) 5. การคิดเชิงระบบ การคิดเชิงออกแบบฝึกให้นักเรียนมองภาพรวม เห็นความเชื่อมโยงของปัจจัยต่างๆ ในระบบ และจัดการปัญหาที่ซับซ้อนได้ (Razzouk & Shute, 2012) ชุมนุมนักประดิษฐ์ ในโรงเรียนจัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมทักษะและ ความรู้ที่จำ �เป็นสำ �หรับนักเรียนในยุคปัจจุบัน โดยเฉพาะด้านการคิดสร้างสรรค์ และการพัฒนานวัตกรรม นักเรียนสามารถทดลองคิดค้นสิ่งใหม่ๆ ที่เป็น ประโยชน์และฝึกฝนการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบผ่านกระบวนการคิด เชิงออกแบบ (Design Thinking Process) ทำ �ให้นักเรียนมีความพร้อม ในการเผชิญกับปัญหาในชีวิตจริง (Brown, T.,2009) และยังช่วยเสริมสร้าง ทักษะการทำ �งานเป็นทีมและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นทักษะ สำ �คัญสำ �หรับการทำ �งานในอนาคต เป็นการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง (Hands-on Learning) (Kolb, D. A.,1984) ชุมนุมนี้เปิดโอกาสให้ นักเรียนได้สร้างสิ่งประดิษฐ์โดยบูรณาการความรู้จากหลายสาขาวิชา เช่น วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์เข้าด้วยกัน เพื่อช่วยให้ นักเรียนมีมุมมองที่กว้างและมองเห็นแนวทางการแก้ปัญหาอย่างครอบคลุม เป็นการพัฒนาทัศนคติที่ดีต่อการทำ �งานและการเรียนรู้ตลอดชีวิต กระตุ้น ความสนใจในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สร้างความตระหนักรู้ในการแก้ปัญหา ในชีวิตประจำ �วัน และยังเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ผลงานซึ่งเป็น ส่วนสำ �คัญที่ไม่เพียงแต่พัฒนาทักษะเชิงวิชาการ แต่ยังเสริมสร้างทักษะชีวิต และการพัฒนาตนเองในหลากหลายมิติ การบูรณาการกระบวนการคิดเชิงออกแบบในชุมนุมนักประดิษฐ์ ผู้เขียนขอยกตัวอย่างการบูรณาการกระบวนการคิดเชิงออกแบบ ผ่านมุมมองการแก้ปัญหาของนักเรียนในโรงเรียนประจำ �โดยเน้นที่ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหาเชิงประยุกต์ และการทำ �งาน ร่วมกันในบริบทเฉพาะของโรงเรียนประจำ �ซึ่งนักเรียนมักจะอยู่ร่วมกันใน ระยะเวลาที่ยาวนานกว่าโรงเรียนทั่วไป และมีปัญหาที่อาจแตกต่างไปจาก โรงเรียนทั่วไป มีรายละเอียดดังต อไปนี้ 1. การทำ �งานร่วมกันของนักเรียนในโรงเรียนประจำ � ด้วย สภาพแวดล้อมของโรงเรียนที่นักเรียนมีโอกาสทำ �งานร่วมกันอย่าง ใกล้ชิดเป็นระยะเวลานานก่อให้เกิดการสร้างความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้น และการพัฒนาทักษะการทำ �งานเป็นทีมช่วยให้เกิดความเข้าใจและร่วมกัน แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพผ่านการพูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ภาพ 2 การบูรณาการกระบวนการคิดเชิงออกแบบในชุมนุมนักประดิษฐ์
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5