นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 251
ปีที่ 53 ฉบับที่ 251 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2567 47 ชุมนุมนักประดิษฐ์มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนา ทักษะในการคิดสร้างสรรค์และการคิดวิเคราะห์ผ่านการสร้างสรรค์ นวัตกรรมที่ตอบสนองต่อความต้องการของสังคม โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้ ผ่านกระบวนการคิดเชิงออกแบบ ซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอนต่างๆ ที่ ช่วยให้สามารถออกแบบและพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างการวิเคราะห์การใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบในการ สร างสรรค นวัตกรรมเพื่อแก ป ญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียนของนักเรียนใน ชุมนุมนักประดิษฐ์เรื่อง “อุปกรณ์แจ้งเตือนระดับเสียงในห้องสมุด” และ “เครื่องไล่นกอัจฉริยะ” แสดงได ดังตาราง 1 ตาราง 1 การวิเคราะห์การใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบในการสร างสรรค นวัตกรรม ขั้นตอน เข าใจป ญหาและ ความต องการของผู ใช นักเรียนที่ใช้ห้องสมุดต้องการความเงียบในการ ทำ �งานหรืออ่านหนังสือ แต่ปัญหาคือมีนักเรียนบาง ส่วนทำ �เสียงดังรบกวน การขาดครูที่คอยดูแลอย่าง เพียงพอทำ �ให้ปัญหานี้เกิดขึ้นบ่อยครั้ง นักเรียนจึง ต้องการแก้ปัญหาด้วยการสร้างสภาพแวดล้อมที่ เงียบสงบในห้องสมุด นักเรียนที่อาศัยในหอพักต้องการพื้นที่ระเบียงที่สะอาด และใช้ประโยชน์ได้ แต่ปัญหานกพิราบที่มาเกาะ ระเบียงทำ �ให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ แสดงให เห็นถึง การเข้าใจปัญหาจากมุมมองของนักเรียนและต้องการ แก้ไขปัญหาโดยไม่ใช้วิธีที่ทำ �ร้ายนก อุปกรณ์แจ้งเตือนระดับเสียงในห้องสมุด เครื่องไล่นกอัจฉริยะ Define (กำ �หนดปัญหาอย่างชัดเจน) Ideate (ระดมความคิดเพื่อหาแนวทาง แก้ปัญหา) Prototype (สร้างต้นแบบ) Test (ทดสอบและปรับปรุง) ต้นแบบของระบบตรวจจับเสียงถูกนำ �ไปทดลองใช้ ในห้องสมุดจริงเพื่อตรวจสอบว่าระบบแจ้งเตือน สามารถทำ �ให้บรรยากาศเงียบลงได้หรือไม่ ซึ่งตัว เครื่องต้องวางในบริเวณที่นักเรียนนั่งจำ �นวนมาก จึงจะสามารถวัดระดับเสียงได้ ตัวเซนเซอร์ต้องติด บริเวณด้านนอกตัวกล่องจึงจะตรวจจับเสียงได้ดี และทำ �การปรับปรุงจากผลการทดสอบ เช่น ปรับ ความไวของการตรวจจับเสียง และเพิ่มเซนเซอร์ใน การตรวจจับรอบกล่องให้สามารถจับสัญญานเสียง ได้จากหลายทิศทาง ปัญหาคือการควบคุมเสียงในห้องสมุดอย่างมี ประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดบรรยากาศที่เงียบสงบโดย อัตโนมัติเมื่อระดับ เสียงเกินกำ �หนด โดย การส่งสัญญานเตือน แบบไม่มีเสียง นักเรียนระดมความคิดเห็นเพื่อพัฒนาอุปกรณ์หรือ ระบบตรวจจับเสียงที่สามารถแจ้งเตือนเมื่อระดับ เสียงดังเกินกำ �หนด เช่น การใช้อุปกรณ์ตรวจจับ เสียงและส่งสัญญาณเตือนด้วยรูปแบบต่างๆ อาจ เป็นแสงหรือไลน์แจ้งเตือน นักเรียนสร้างต้นแบบของระบบตรวจจับเสียงที่ สามารถตรวจวัดระดับเสียงและส่งสัญญาณเตือน โดยใช้ sound sensor เพื่อตรวจจับเสียง และ ส่งสัญญาณเตือนโดยสัณญานไฟสีแดงและไลน์ notification ให้ครูประจำ �ห้องสมุดทราบ ปัญหาคือการหาวิธีป้องกันไม่ให้ นกพิราบมาเกาะระเบียงหอพัก นักเรียนประจำ � โดยไม่ทำ �ร้าย สัตว์หรือทำ �ให้ระเบียงเกิดความ เสียหายและไม รบกวนนักเรียน ที่อยู ในหอพัก นักเรียนระดมความคิดเกี่ยวกับวิธีการไล่นก เช่น การ ใช้เสียง คลื่นความถี่ หรือการเคลื่อนไหวเพื่อทำ �ให้นก ไม่เข้ามาเกาะที่ระเบียง นักเรียนสร้างต้นแบบอุปกรณ์ที่ใช้เสียงหรือคลื่น ความถี่ในการไล่นก โดยนักเรียนเลือกใช้คลื่นเสียง อัลตร้าโซนิคที่นกพิราบไม่ชอบปล่อยออกมาขณะที่ นกพิราบอยู่ในบริเวณใกล้ๆ ซึ่งจะมีเซนเซอร์ตรวจจับ การเคลื่อนไหว PIR Motion Sensor ของนกพิราบ ต้นแบบของเครื่องไล่นกถูกนำ � ไปทดสอบที่ระเบียงจริงเพื่อ ตรวจสอบว่านกยังคงมาเกาะ หรือไม่ ปรากฏว่าสามารถไล่ ได้เพียงบางส่วนเนื่องจากการ ตรวจจับความเคลื่อนไหวอยู่ เฉพาะบริเวณหน้ากล่องเท่านั้น ต้องทำ �การปรับปรุงเกี่ยวกับ การปรับระดับคลื่นความถี่หรือ การตั้งเวลาปล่อยเสียง และ เพิ่มเซนเซอร์ตรวจจับความ เคลื่อนไหวให้รอบด้านมากขึ้น
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5