นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 252

ปีที่ 53 ฉบับที่ 252 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2568 29 อภิปรายร่วมกันสองฝ่ายในประเด็น ทฤษฎี/เนื้อหาทางฟิสิกส์ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกัน ตาราง 1 (ต่อ) ตัวอย่างสถานการณ์การแข่งขันฟิสิกส์สัประยุทธ์ กับการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ตามรูปแบบการแข่งขันในแต่ละยกรอบคัดเลือก ประเด็นของการโต้ แย้งทางวิทยาศาสตร์ บทบาทการทำ �หน้าที่ ตัวอย่างของการใช้การโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ในบทบาทของการแข่งขันฟิสิกส์สัประยุทธ์ (อ้างอิงจากโจทย์ ฟิสิกส์สัประยุทธ์ปี 2567 ข้อ กลไม้บรรทัด) ฝ่ายนำ �เสนอ ฝ่ายซักค้าน กิจกรรม รายละเอียด การซักค้าน 1. นำ �เสนอประเด็น สำ �คัญ ชี้จุดแข็ง และ จุดอ่อนของฝ่ายนำ �เสนอ (ใช้เวลาไม่เกิน 4 นาที) 2. จากนั้นอภิปรายใน ประเด็นที่ซักถาม โดย แสดงถึงความเข้าใจ ทั้งเชิงทฤษฎีและการ ทดลองที่ฝ่ายนำ �เสนอใช้ เพื่อนำ �ไปสู่การแก้ปัญหา ที่ดีขึ้น 1. ฝ่ายซักค้านต้อง พยายามอ้างในประเด็น ที่ทีมนำ �เสนอไม่มี เช่น ในประเด็นการทดลองที่ ไม่ครบถ้วน ไม่มีหลักฐาน ไม่มีทฤษฎีรองรับ เพื่อ ตั้งหลักในการซักค้าน ข้อมูลฝ่ายนำ �เสนอ 2 . อภิปร าย โ ดย ใช้ เหตุผลในการกล่าวอ้าง และหลักฐานในการ สนับสนุนเหตุผล รายละเอียดดังตาราง แสดงเหตุการณ์ในช่วงของการซักค้าน โดยฝ่ายนำ �เสนอและฝ่ายซักค้านจะต้องหยิบยกข้อมูลที่ตนเองมีมา หักล้างกัน โดยฝ่ายซักค้านจะต้องหาจุดอ่อนและหักล้างข้อกล่าวอ้างของฝ่ายนำ �เสนอให้ได้ แต่ถ้าทำ �ไม่ได้จะทำ �ให้ข้อกล่าวอ้างของ ฝ่ายนำ �เสนอมีน้ำ �หนักมากกว่า มีจุดแข็ง และมีข้อมูลที่ครบถ้วน ทั้งนี้ ผู้เขียนขอแนะนำ �ให้นำ �กระบวนการการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมการแข่งขันฟิสิกส์สัประยุทธ์เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการหาข้อมูล หลักฐาน สนับสนุนไม่ใช่การกล่าวอ้างขึ้นมาลอยๆ ไม่มีเหตุปัจจัย เพื่อให้นักเรียนสามารถนำ �ข้อมูลที่ตนเองมีไปวิพากษ์ผู้อื่น ระบุจุดอ่อน จุดแข็ง ของฝ่ายตรงกันข้าม รับรู้องค์ความรู้ใหม่ผ่านกระบวนการแข่งขันด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์อย่างมีตรรกะและเหตุผล 1. นำ �ประเด็นสำ �คัญและชี้จุดอ่อนในการทดลอง หลักฐานและเหตุผล โดยยกข้อกล่าวอ้าง พร้อมหลักฐาน และเหตุผลสนับสนุนของฝ่ายซักค้านเพื่อตอบคำ �ถาม ที่สงสัย 2. การอภิปราย ควรหลีกเลี่ยงประเด็นที่ไม่สามารถ หาเหตุผลในการกล่าวอ้างหรือหลักฐานสนับสนุน เช่น ได้ลองทดสอบในอวกาศหรือไม่ ซึ่งโดยทั่วไป การทดลองในอวกาศเป็นไปได้ยากในงานระดับนี้ ทำ �ให้ผู้ทดลองไม่สามารถตอบตามหลักการและ เหตุผลได้ ยกตัวอย่างสถานการณ์ จากคำ �ถามข้อ 4. ทำ �การทดลองเพิ่มหรือลดความดัน ใต้แผ่นกระดาษหรือไม่/ด้วยวิธีใด ฝ่ายนำ �เสนอ: ได้เปลี่ยนพื้นผิวของโต๊ะและทดลอง ซึ่งมีผลต่อความเรียบและความดันของแรงดัน ใต้กระดาษแล้ว ฝ่ายซักค้าน: ได้วัดความดันใต้พื้นผิวกระดาษด้วย หรือไม่/วัดด้วยวิธีใด ฝ่ายนำ �เสนอ: ทดสอบด้วยการเปรียบเทียบ โดยพื้นโต๊ะ ที่วางไม้บรรทัดที่เรียบจะเพิ่มโอกาสในการเกิด ปรากฏการณ์ เนื่องจากมีการไหลเข้าของอากาศ น้อยกว่าพื้นผิวชนิดอื่น กระดาษแนบไปกับพื้นผิวได้ ดังผลการทดลองเปรียบเทียบ ฝ่ายซักค้าน: ควรจะมีการวัดความดันของอากาศ เพื่อพิสูจน์ว่าพื้นที่โต๊ะแบบใดเกี่ยวข้องกับความดัน อากาศอย่างไร ทั้งนี้ ฝ่ายนำ �เสนอได้ทดลองในภาวะ ดูดอากาศออกหรือไม่ ฝ่ายนำ �เสนอ: ไม่ได้ทดลองเนื่องจากไม่มีอุปกรณ์ที่ สามารถทำ �ได้/จากนั้น ฝ่ายซักค้านถามในประเด็น ต่อไป

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5