นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 252

ปีที่ 53 ฉบับที่ 252 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2568 31 Cetin, P. S. (2014). Explicit Argumentation Instruction to Facilitate Conceptual Understanding and Argumentation Skills. Research in Science and Technological Education, 32 (1): 1-20. https://doi.org/10.1080/02635143.2013.850071. Sampson V. & Grooms J. & Walker J.P., (2010). Argument-Driven Inquiry as a Way to Help Students Learn How to Participate in Scientific Argumentation and Craft Written Arguments: an exploratory study. Science Education, 95 : 217–257, 2011. https://doi.org/10.1002/sce.20421. Sampson, V. & Blanchard, M. R. (2012). Science Teachers and Scientific Argumentation: trends in views and practice. Journal of Research in Science Teaching, 49 , 1122-1148. https://doi.org/10.1002/tea.21037. Toulmin, S. E. (2012). The Uses of Argument. 2nd edition. USA: Cambridge University Press. University of Southern California. Toulmin, S. E. (2003). The Uses of Argument. Updated Edition. Cambridge: Cambridge University Press. กรอบการประเมินด้านวิทยาศาสตร์. PISA THAILAND สสวท., สืบค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2567, จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/about-pisa/science_competency_framewark/. วรัญญา จีระวิพูลวรรณ. (2564). การโต้แย้งและวิทยาศาสตร์ศึกษา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. 8 (1) (มกราคม – มิถุนายน 2563). บรรณานุกรม ภาพจาก: https://www.iypt.org/past-tournaments/iypt-2019/ เพื่อนำ �มาเลือกใช้ในการแก้ปัญหาตามปรากฏการณ์ที่โจทย์กำ �หนด 2) ความรู้ด้านกระบวนการ (Procedural Knowledge) เนื่องจากโจทย์ฟิสิกส์สัประยุทธ์เป็นโจทย์ปัญหาปลายเปิดตามปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ การตั้งสมมติฐาน เก็บผลการทดลอง วิเคราะห์ผลการทดลอง และการลงข้อสรุปตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จึงมีความสำ �คัญในการหาคำ �ตอบอย่างยิ่ง และ 3) ความรู้เกี่ยวกับการได้มาของความรู้ (Epistemic Knowledge) จากกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาปลายเปิดที่มีคำ �ตอบได้หลากหลาย มีตัวแปรที่หลากหลาย อาจต้องจำ �กัดกรอบของการทดลองเพื่อสืบเสาะหาตัวแปรที่เกี่ยวข้องที่สุด ซึ่งสามารถศึกษาได้จากทฤษฎี และสมมติฐานที่เกี่ยวข้องตามกระบวนการวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้ผลการทดลองที่สามารถตอบคำ �ถามได้ ในทางกลับกันถ้า ผลการทดลองไม่เป็นไปตามที่ตั้งสมมติฐานไว้ ผู้ทดลองก็ต้องศึกษาทฤษฎีเพิ่มเติม ตั้งสมมติฐานใหม่ และเริ่มกระบวนการทดลอง อีกครั้ง เพื่อให้ได้มาซึ่งผลการทดลองที่สามารถตอบปัญหาปลายเปิดเหล่านั้นได้ ตัวอย่างโจทย์ที่น่าสนใจ เช่น เสื้อผ้า เมื่อเปียกน้ำ �แล้วทำ �ไมสีจึงเข้มขึ้น เมื่อนำ �ท่อพลาสติกมาเหวี่ยงหมุนทำ �ไมจึงเกิดเสียงได้ เส้นที่วาดด้วยดินสอนำ �ไฟฟ้าได้อย่างไร เสียงที่เกิดจากลำ �น้ำ �ที่ไหลลงขวดในแนวดิ่งจะเปลี่ยนไประหว่างที่น้ำ �ในขวดเพิ่มขึ้น ผู้อ่านสามารถศึกษาโจทย์ IYPT ในปีต่างๆ ได้ที่ https://www.iypt.org/problems/

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5