นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 252

44 นิตยสาร สสวท. GLOBE PROGRAM. GLOBE Program Overview. (2025). Retrieved February 17, 2025, from https://www.globe.gov/about/learn/program-overview. GLOBE PROGRAM. Steps in the Scientific Process. (2025). Retrieved February 17, 2025, from https://www.globe.gov/do-globe/resources/student-resources/ be-a-scientist/steps-in-the-scientific-process. PISA THAILAND สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. เกี่ยวกับ PISA. 2568. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2568, จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/about-pisa/. PISA THAILAND สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กรอบการประเมินด้านวิทยาศาสตร์. 2568. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2568, จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/about-pisa/ science_competency_framewark/. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. การขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา. (2025). สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2568, จาก https://d2ieq.ipst.ac.th/. สุวินัย มงคธารณ์. (2568). ลมฟ าอากาศและภูมิอากาศกับการดํารงชีวิต. สไลด์ประกอบการอบรม. บรรณานุกรม 8.30 - 12.00 น. บรรยายโดย อาจารย์สมฤทัย ชัยโพธิ์ ผู้ชำ �นาญสาขา ประเมินผลทางการศึกษา อาจารย์สุภทัต สุขเอี่ยม นักวิชาการสาขา ประเมินผลทางการศึกษา และอาจารย์สุวินัย มงคลธารณ์ ผู้ชำ �นาญฝ่าย พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา สสวท. ซึ่งในการอบรมนี้ ทีมวิทยากร ได้ยกตัวอย่างกิจกรรมจากชุดพัฒนาความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เล่มที่ 3 กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ได้แก่ กิจกรรมที่ 12 การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม และกิจกรรมที่ 13 ปรากฏการณ์เรือนกระจก รวมทั้งกิจกรรมจากชุดพัฒนาความฉลาดรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ เล่มที่ 6 กิจกรรมการเรียนรู เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาความฉลาดรู ด านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ได้แก่ กิจกรรมชุดที่ 1 เรื่องที่ 1 ลมฟ าอากาศ และภูมิอากาศ กิจกรรมที่ 1.1 ลมฟ าอากาศและภูมิอากาศกับการดํารงชีวิต ตัวอย่างสไลด์ ดังภาพ 4 ก และ ข ภาพ 4 ก ภาพ 4 ข สไลด์ประกอบการบรรยายกิจกรรมลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศกับการดำ �รงชีวิต ที่มา: สุวินัย 2568 3. หัวข้อเสริมสร้างความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ด้วยข้อมูล จากการตรวจวัดของ GLOBE ในวันเสาร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2568 เวลา 8.30 - 12.00 น. บรรยายโดย รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี สำ �นักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งการอบรมนี้จะแนะนำ � การนำ �ข้อมูลของ GLOBE มาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย สิ่งแวดล้อมต่างๆ ผู้สนใจ สามารถชมการอบรมครูออนไลน์ย้อนหลังและกิจกรรม ส่งเสริมวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมสำ �หรับครูและนักเรียน ได้ที่ https:// www.facebook.com/GLOBEThailandOfficial/ และคาดหวังว่าสื่อและ กิจกรรมที่โครงการ GLOBE ได้ดำ �เนินการจะช่วยเสริมความรู้ความเข้าใจ ความสัมพันธ์ของระบบโลก การเปลี่ยนแปลงของระบบโลกจากกิจกรรม ของมนุษย์ และช่วยเติมเต็มนักเรียนให้มีสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5