นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 252

ปีที่ 53 ฉบับที่ 252 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2568 51 ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 1. การศึกษาวิธีการทำ �นาข้าวแบบดั้งเดิม และผลกระทบของ การทำ �นาข้าวแบบดั้งเดิมที่มีต่อการปล่อยแก๊สมีเทนขึ้นสู่ชั้น บรรยากาศ 2. การออกแบบการลดปริมาณน้ำ �ในนาข้าว 3. การลงมือปฏิบัติจริงในการทำ �นาข้าว บริเวณแปลงนาสาธิต ของโรงเรียน 4. การสะท้อนคิดผลจากการทำ �นาข้าวแบบลดปริมาณน้ำ � เชื่อมโยงเข้ากับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน การทำ �นาข้าวแบบดั้งเดิมมีการใช้น้ำ �เป็นจำ �นวนมากเพื่อขังน้ำ �ในนาข้าว ทำ �ให้เกิดกระบวนการสร้างแก๊สมีเทนจากการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน ของแบคทีเรียในดินที่อยู่ในนาข้าว และถูกปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศผ่าน โพรงอากาศในลำ �ต้นของข้าว (Aerenchyma) การทำ �นาข้าวแบบดั้งเดิมจะใช้ปริมาณน้ำ �มากที่สุดในช่วง 6 - 8 สัปดาห์ หลังจากปักชำ �(ระยะเริ่มออกดอกและโผล่รวง)การลดปริมาณน้ำ �สามารถ ทำ �ได้โดยการระบายน้ำ �ออกเป็นช่วงๆ แทนที่จะมีการระบายน้ำ �เฉพาะ ช่วงก่อนเก็บเกี่ยว การทำ �นาข้าวแบบเปียกสลับแห้ง สามารถช่วยลดการใช้ปริมาณน้ำ �ได้ มากถึง 27.12% (วรวุฒิ และ หนึ่งฤทัย, 2556) โดยรูปแบบการทำ �นาข้าว แบบลดปริมาณน้ำ �ในครั้งนี้แบ่งออกเป็น ระยะปักดำ �ต้นกล้า (ต้นกล้ามีอายุ 20 วัน) – ใช้น้ำ �ให้คลุมผิวดิน รอข้าว ตั้งตัวเป็นเวลา 10 วัน ระยะตั้งต้น (ต้นข้าวอายุ 30 วัน) - ขังน้ำ �ให้ท่วมสูง 5 เซนติเมตร ปล่อย ให้น้ำ �แห้งจนหมด ทิ้งไว้ 14 วัน จนผิวดินแตกระแหง จึงปล่อยน้ำ �เข้านา ให้ท่วมสูง 5 เซนติเมตร ระยะแตกกอสูงสุด (ต้นข้าวอายุ 60 วัน) - ปล่อยให้น้ำ �แห้งจนหมดทิ้งไว้ 14 วัน จนผิวดินแตกระแหง ใส่ปุ๋ย และปล่อยน้ำ �เข้านา ระยะข้าวตั้งท้อง (ต้นข้าวอายุ 75 วัน) - ขังน้ำ �ให้ท่วม 10 เซนติเมตร จน ข้าวมีอายุ 110 วัน ระยะก่อนเก็บเกี่ยว 20 วัน – ปล่อยน้ำ �ออกจากนาจนหมด การตระหนักถึงการมีส่วนช่วยในการลดปริมาณแก๊สมีเทนที่ปล่อยมา จากการทำ �นาข้าวซึ่งเป็นแก๊สเรือนกระจกชนิดหนึ่งที่มีการปล่อยออก มามากที่สุดในประเทศกลุ่มเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อันเนื่องมาจากการ ทำ �นาข้าว การส่งต่อความรู้เรื่องการลดปริมาณน้ำ �ในการทำ �นาข้าว จะ ช่วยให้เกษตรกรในชุมชนเกิดความตระหนักในเรื่องของการรักษาสิ่ง แวดล้อมและลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศจากการทำ � เกษตรกรรม (SDGs เป้าหมายที่ 12 13 และ 15) องค์ความรู้ที่ได้จากการจัดกิจกรรม ในอีก 30 - 50 ปีข้างหน้า ทำ �ให้ประเทศอินโดนีเซียต้องประกาศย้ายเมืองหลวง จากกรุงจาร์กาตาไปยังเมืองนูซันตารา บนเกาะบอร์เนียว ภายในระยะเวลา 20 ปี เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาเมืองจมลงสู่ใต้ทะเล ตลอดระยะเวลา 1 ปีการศึกษาที่ผ่านมาภายหลังเสร็จสิ้น การอบรม ผู้เขียนได้นำ �ความรู้และแนวคิดในการจัดการเรียนรู้เรื่อง สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน และการสร้างความตระหนัก ในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมาดำ �เนินการจัดกิจกรรม ภายในโรงเรียนเพื่อรับมือกับสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป และสร้าง การจำ �ลองการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในโรงเรียน (Climate Resilient School) จำ �นวน 3 กิจกรรม ได้แก่ การทำ �นาข้าวแบบ ลดปริมาณน้ำ �เพื่อลดปริมาณการปล่อยแก๊สมีเทนในนาข้าว การเรียนรู้ หลักการทำ �งานของระบบนิเวศด้วยการทำ �สวนขวดระบบนิเวศแบบปิด และ กิจกรรมการศึกษาความสัมพันธ์ของผึ้งที่มีต่อระบบนิเวศโดยรอบโรงเรียน โดยจัดกิจกรรมให้แก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษา ตอนปลายซึ่งบูรณาการเข้ากับวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม (ชีววิทยามัธยมต้น) วิทยาศาสตร์ชีวภาพ และชุมนุมเกษตรอัจฉริยประณีต โดยมีนักเรียน เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 92 คน แบ่งเป็นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 25 คน และมัธยมศึกษาตอนปลาย 67 คน โดยมีรายละเอียดของการจัดกิจกรรม ดังนี้ 1. กิจกรรมการทำ �นาข้าวแบบลดปริมาณน้ำ �เพื่อลดปริมาณแก๊ส มีเทนในนาข้าว (ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย) กิจกรรมนี้จัดขึ้นโดยการบูรณาการเข้ากับชุมนุมเกษตรอัจฉริยะ ประณีตของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยจัดกิจกรรม สัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง จำ �นวน 20 สัปดาห์ เพื่อให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง และสร้างความตระหนักต่อการลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกที่เกิดจากการ ทำ �นาข้าว ซึ่งเป็นอาชีพหลักของประชากรในชุมชนโดยรอบของโรงเรียน ผ่านกระบวนการคิด และออกแบบแนวทางการปลูกข้าวเพื่อลดการขังน้ำ � ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิด แก๊สมีเทน ภาพ 1 - 2 กิจกรรมการทำ �นาข้าวด้วยวิธีการลดการขังน้ำ � ตั้งแต่ระยะการดำ �นาข้าว จนถึงระยะการเก็บเกี่ยว ใช้เวลาในการทำ �กิจกรรม 120 วัน (1 ภาคเรียน)

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5