นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 252
8 นิตยสาร สสวท. Bandura, A. (1997). Self-efficacy: The exercise of control. New York: W.H. Freeman and Company. Pajares, F. (1996). Self-efficacy Beliefs in Academic Settings. Review of Educational Research, 66 (4): 543–578. Schunk, D. H. (1985). Self-efficacy and Classroom Learning. Psychology in the Schools, 22 (2): 208-223. Zimmerman, B. J. (1989). A Social Cognitive View of Self-regulated Learning. Journal of Educational Psychology, 81 (3): 329–339. ปัฐมาภรณ์ พิมพ์ทอง. (2566). การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สุนทรฟิล์ม. สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). หนังสือชีววิทยา ม.4 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: สำ �นักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำ �นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). คู่มือการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. บรรณานุกรม บทสรุป จากการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษาโดยใช้ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมในกิจกรรมสร้างบ้านสำ �หรับน้องหมูเด้ง พบว่า กิจกรรมนี้สามารถกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนและส่งเสริม การพัฒนาทักษะกระบวนการเชิงลึกได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการสังเกต และการสัมภาษณ์ผู้เรียนเบื้องต้นพบว่า ผู้เรียนมีความชื่นชอบในกิจกรรม เนื่องจากได้มีโอกาสลงมือปฏิบัติจริง ร่วมกันแสดงความคิดเห็น และใช้ ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ อีกทั้งยังได้ฝึกทักษะการแก้ปัญหา ภายใต้ข้อจำ �กัดของวัสดุที่มีอยู่ นอกจากนี้ กิจกรรมดังกล่าวยังส่งเสริม ความสามัคคีในกลุ่มผู้เรียน ผลจากการประเมินความเชื่อมั่นในความสามารถทาง วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนชี้ให้เห็นว่าการได้รับคำ �แนะนำ �ที่เหมาะสมจากครู และการสนับสนุนจากผู้ปกครองมีบทบาทสำ �คัญอย่างยิ่งในการเสริมสร้าง ความมั่นใจให้แก่ผู้เรียน อีกทั้งสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและเอื้อต่อ การเรียนรู้ยังช่วยให้ผู้เรียนมีสมาธิและสามารถสร้างสรรค์ผลงานได้อย่าง เต็มที่ รวมทั้งสามารถสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเรียนและการเตรียมความพร้อม ในการพัฒนาทักษะที่ซับซ้อนในอนาคตได้ สุดท้ายนี้ผู้เขียนขอเสนอ แนวทางการปรับปรุงกิจกรรมครั้งถัดไปโดยให้ผู้สอนใส่ใจในการสังเกต และให้คำ �แนะนำ �ระหว่างการออกแบบชิ้นงานของผู้เรียนเพื่อเสริมสร้าง ความมั่นใจและกระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงศักยภาพในการสร้างสรรค์ผลงาน อย่างเต็มที่ ควรจัดสภาพแวดล้อมและควบคุมสถานการณ์ในการดำ �เนิน กิจกรรมให้เหมาะสมเพื่อส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนมากที่สุด ภาพ 7 ใบกิจกรรมสะเต็มศึกษา ภาพ 6 แบบประเมินความเชื่อมั่นในความสามารถทาง วิทยาศาสตร์ 6. ขั้นนำ �เสนอวิธีการทำ �กิจกรรมแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือชิ้นงาน เสนอแนวคิดและขั้นตอนการแก้ปัญหาของ การสร้างชิ้นงานหรือการพัฒนาวิธีการทำ � กิจกรรมให้ผู้อื่นเข้าใจและได้ข้อเสนอแนะเพื่อ การพัฒนาต่อไป 1) ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำ �เสนองานออกแบบของตน โดย อธิบายวิธีการออกแบบ การทดลอง และการปรับปรุง รวมถึงวิธีการแก้ไขปัญหาที่พบ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม: ใช้รูปแบบการนำ �เสนอ ที่หลากหลาย เช่น วีดิทัศน์ Power Point หรือ อินโฟกราฟิก 2) ผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำ �กิจกรรมนี้ พร้อมทั้งทำ �แบบประเมินความเชื่อมั่นในความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ขั้นตอน ตัวอย่างแนวทางการจัดการเรียนรู้ ตัวอย่างใบกิจกรรม/ภาพกิจกรรม
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5