นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 254

ปีที่ 53 ฉบับที่ 254 พฤษภาคม - มิถุนายน 2568 | 17 CANVA (2568). How to Use Canva : A Beginner’s Guide . สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2568, จาก https://www.canva.com/learn/how-to-canva-beginners-guide/?msockid= 2fbdb7f3ebca6c7f1c84a266ea616d86. OARIT (2567). เอกสารประกอบการอบรม CANVA เพื่อการออกแบบและประชาสัมพันธ์. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2568, จาก https://oarit.rmutk.ac.th/wp-content/uploads/2024/ 07/Canva_02.pdf. บรรณานุกรม 15. การเปลี่ยนสีพื้นหลังทำ �ได้โดยคลิกพื้นหลังในพื้นที่ทำ �งานดังหมายเลข 15 จากนั้นเลือกเครื่องมือสีที่หมายเลข 16 จะปรากฏเครื่องมือสีเอกสารหมายเลข 17 สามารถเปลี่ยนสีได้ตามต้องการดังหมายเลข 18 16. การดาวน์โหลดงานอินโฟกราฟิกจาก CANVA มาเป็นไฟล์รูปภาพ ทำ �ได้โดยคลิกเครื่องมือแชร์ที่หมายเลข 19 จากนั้น คลิกปุ่ม “ดาวน์โหลด” ที่หมายเลข 20 และเลือกนามสกุลของภาพตามความต้องการ หากต้องการแชร์กับบุคคลอื่นให้คลิกปุ่ม “แชร์” ทางด้านบนขวาหมายเลข 19 กรอกอีเมลบุคคลที่ต้องการแชร์ร่วมลงไป ซึ่งจะมีให้เลือกสิทธิ์ได้ว่าจะให้แก้ไขร่วมหรือดูได้อย่างเดียว จากนั้นคลิก “ส่ง” ก็สามารถแชร์งานออกแบบได้ หากต้องการแชร์ ให้หลายคน การกรอกอีเมลอาจจะไม่สะดวก สามารถเลือกใช้คำ �สั่งการแชร์ลิงก์ โดยโปรแกรมจะสร้างลิงก์มาให้ หากจะใช้งานให้ คลิกที่ “คัดลอกลิงก์” และนำ �ไปวางหรือส่งให้บุคคลอื่นเพื่อใช้งานต่อไป สุดท้ายนี้ผู้อ่านจะเห็นได้ว่าการสร้างอินโฟกราฟิกจาก CANVA สามารถทำ �ได้โดยไม่ยากและมีความสวยงามจาก Template ของ CANVA ที่ได้ออกแบบไว้ให้แล้ว อย่างไรก็ตาม ครูและนักเรียนที่ออกแบบอินโฟกราฟิกยังคำ �นึงถึงปัจจัยอื่นๆ เช่น ความชัดเจน ของวัตถุประสงค์ เนื้อหาที่กระชับและตรงประเด็น ความถูกต้องของข้อมูลและสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย เพราะปัจจัยเหล่านี้ จะช่วยให้การออกแบบอินโฟกราฟิกเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยสร้างความดึงดูดและความสนใจของนักเรียน กระตุ้นความเข้าใจ ในเนื้อหา และมุ่งสู่ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ดียิ่งขึ้น 15 16 17 18 19 20

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5