นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 254

ปีที่ 53 ฉบับที่ 254 พฤษภาคม - มิถุนายน 2568 | 27 Abdurahman, L. & Herman, T. (2024). Sixth Grade Students’ Misconceptions on Decimal Numbers through Routine Exercise Questions. Journal Cakrawala Pendas, 10 (2): 282-295 p. https://doi.org/10.31949/jcp.v10i2.8617. Howden, H. (1989). Teaching Number Sense. The Arithmetic Teacher, 36(6): 6–11 p. https://www.jstor.org/stable/41194455. Kowalski, P. & Taylor, A. K. (2017). Reducing Students’ Misconceptions with Refutational Teaching: for long-term retention, comprehension matters. Scholarship of Teaching and Learning in Psychology, 3 (2): 90–100. McDonald, F.J. (1967). Educational Psychology. 2nd ed. San Francisco: wadsworth publishing. Michael F. Otte & Luiz G. X. de Barros. (2016). What is the Difference Between a Definition and a Concept? Science Journal of Education, 4 (5): 159-168. นัฐพงษ์ ทองเชื้อ. (2559). การวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องทศนิยมและเศษส่วนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จังหวัดสมุทรปราการ เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 . วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำ �แหง. สุภาภรณ์ มณีประวัติ. (2561). การวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในโรงเรียนสังกัด สำ �นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สำ �นักงานเขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร . วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำ �แหง. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). ครูคณิตศาสตร์มืออาชีพ เส้นทางสู่ความสำ �เร็จ . กรุงเทพมหานคร: 3-คิว มีเดีย. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 .กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ �กัด. อัมพร ม้าคนอง. (2557). คณิตศาสตร์สำ �หรับครูมัธยม . กรุงเทพมหานคร: สำ �นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บรรณานุกรม ตัวอย่างการใช้ Place Value Chart ร่วมกับการตั้งบวก ในการบวกและการลบทศนิยม ตัวอย่าง 2.13 + 13.025 = ? เมื่อนำ �มาดำ �เนินการบวก จะได้ดังนี้ ดังนั้น จึงได้ว่า 2.13+13.025=15.155 จากตัวอย่างฉากทัศน์ข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ผู้สอนจะให้ความสำ �คัญกับจุดที่ผู้เรียนมักเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน ด้วยการจัดเตรียมวิธีการ สื่อ หรือเครื่องมือที่จะช่วยสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง มีการประเมินความเสี่ยงล่วงหน้าว่าหากผู้เรียน ไม่เข้าใจในประเด็นใด ผู้สอนควรทำ �อย่างไรเพื่อจัดการแก้ไขทันทีโดยไม่ปล่อยผ่านเพื่อไม่ให้ผู้เรียนเกิดมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนที่สะสม จนกลายเป็นอุปสรรคในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ซึ่งการจะทำ �เช่นนี้ได้ผู้สอนจะต้องมีประสบการณ์การสอนในเนื้อหานั้นมาพอสมควร จนทำ �ให้คาดเดาได้ว่าจังหวะไหนคือจุดวิกฤติที่ควรระมัดระวัง และศึกษาหาวิธีการเพื่อเตรียมการป้องกันไว้อย่างหลากหลาย เช่นนี้ คงไม่เป็นการกล่าวเกินจริงหากจะเรียกว่า สอนคณิตศาสตร์อย่างมืออาชีพ 2.13 13.025 15.155 +>

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5