นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 254

30 | นิตยสาร สสวท. แหล่งรายได้หลัก (Mining for Income) โดยพบว่า การทำ �การเกษตร และการทำ �เหมืองยังเป็นอาชีพที่เกื้อหนุนกัน โดยตอบสนองความต้องการ ที่แตกต่างกันและอยู่ในช่วงฤดูกาลที่ต่างกัน ทำ �ให้การเสนอจากภาครัฐให้ ทำ �อาชีพเกษตรกรรมเพียงอย่างเดียวไม่สามารถทดแทนรายได้จากการ ทำ �เหมืองได้ อีกทั้งคนงานเหมืองจำ �นวนมากยังเป็นแรงงานอพยพ ซึ่ง พร้อมที่จะย้ายถิ่นฐานเพื่อโอกาสทางเศรษฐกิจ ทำ �ให้การแทรกแซง เชิงนโยบายที่มุ่งเป้าไปที่คนในท้องถิ่นอาจไม่ได้ผล ดังนั้น การบังคับใช้ กฎหมายเพียงอย่างเดียว หรือการเสนอทางเลือกอาชีพทางการเกษตร แก่ชาวบ้านที่ทำ �เหมืองทองคำ �แบบไม่เป็นทางการใน Homalin Township นั้น ไม่น่าจะสามารถยับยั้งการทำ �เหมืองได้เนื่องจากการทำ �เหมืองมี ผลกำ �ไรสูงและมีการยอมรับจากเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นว่ามีการรับเงินที่จ่าย ค่าธรรมเนียมที่ไม่เป็นทางการ สะท้อนให้เห็นว่าไม่มีการบังคับใช้กฎหมาย ที่มีประสิทธิภาพพอ รวมไปถึงปัญหาการทุจริต ดังนั้น ควรทำ �ให้นโยบาย การจัดการการทำ �เหมืองในเมียนมาหันมาให้ความสำ �คัญกับการควบคุม การขยายตัวของเหมืองแร่ทองคำ �ขนาดใหญ่ และอาจพิจารณาอนุญาต ให้ทำ �เหมืองขนาดเล็กในพื้นที่ที่เคยมีการทำ �เหมืองมาแล้วควบคู่ไปกับ การสนับสนุนเทคโนโลยีที่ลดการปล่อยสารปรอท และลดขั้นตอนและ ค่าใช้จ่ายในการขอใบอนุญาตทำ �เหมืองขนาดเล็กเพื่อดึงผู้ทำ �เหมือง นอกระบบให้เข้ามาอยู่ในระบบและลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม โดย การทำ �เหมืองทองคำ �แบบไม่เป็นทางการนี้เป็นปัจจัยสำ �คัญที่ก่อให้เกิด การทำ �ลายป่าไม้ (Deforestation) ในพื้นที่เพื่อขยายพื้นที่ทำ �เหมือง นอกจากนี้ กระบวนการทำ �เหมืองยังเป็นแหล่งสำ �คัญของการปล่อย สารปรอท (Mercury Emissions) สู่สิ่งแวดล้อมในระดับโลก แม้ว่างานวิจัยนี้ จะไม่ได้ระบุถึงโลหะหนักชนิดที่มีการปนเปื้อนมากที่สุดโดยตรง แต่ได้ กล่าวถึงการปล่อยสารปรอทซึ่งเป็นผลกระทบสำ �คัญจากการทำ � เหมืองทองคำ �ขนาดเล็กแบบไม่เป็นทางการ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงมาตรฐาน ความปลอดภัยในการทำ �งานและสิ่งแวดล้อมที่ค่อนข้างต่ำ � ผลการศึกษานี้ ชี้ให้เห็นว่ากิจกรรมการทำ �เหมืองทองในประเทศเมียนมา (ภาพ 1 ขวา) อาจเป็นแหล่งที่มาของการปนเปื้อนของสารหนูในแม่น้ำ �กกที่อยู่ในรัฐฉาน (ภาพ 1 ซ้าย) ซึ่งมีพื้นที่ติดกับชายแดนไทย ในการทำ �เหมืองแร่ทองคำ � (Gold, Au) พบว่า แร่ทองคำ �ทั่วโลก มีส่วนประกอบของสารประกอบซัลไฟด์และสารหนูในปริมาณที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อประสิทธิภาพในการสกัดทองคำ �ด้วยเทคโนโลยีไซยาไนด์ ในปัจจุบัน สารหนูพบได้ในแหล่งแร่ทองคำ �หลายชนิด เช่น ในแคนาดา สารหนูที่พบส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของอาร์เซโนไพไรต์ (FeAsS) นิกโคไลต์ (NiAs) โคบอลไทต์ (CoAsS) เทนแนนไทต์ [(Cu,Fe) 12 As 4 S 13 ] เอ็นอาร์ไจต์ (Cu 3 AsS 4 ) ออร์พิเมนต์ (As 2 S 3 ) และเรียลการ์ (AsS) (Azcue และคณะ 1994) แร่ทองคำ �บางชนิดในโคลอมเบีย อเมริกาใต้ มีแร่ที่มีสารหนูสูงถึง 32% และตะกอนโดยรอบอาจมีสารหนูสูงถึง 6,300 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม น้ำ �หนักแห้ง (Eisler, 2004) Eisler (2004) ได้สรุปว่า การทำ �เหมืองทองคำ �มักจะขุดพบ แร่ทองคำ �ที่ปะปนอยู่กับแร่ธาตุอื่นๆ ที่มีสารหนู เช่น อาร์เซโนไพไรต์ เมื่อมีการทำ �เหมืองและนำ �แร่เหล่านี้มาสกัดทองคำ � สารหนูสามารถ แพร่กระจายสู่สิ่งแวดล้อมได้หลายช่องทาง ดังนี้: 1. ดินและหินทิ้ง: การขุดเหมืองจะทำ �ให้เกิดดินและหินจำ �นวนมาก ที่ไม่ใช่แร่ทองคำ �ซึ่งอาจมีสารหนูปนเปื้อนอยู่ เมื่อทิ้งไว้สารหนูสามารถ ชะล้างลงสู่ดินและน้ำ �ได้ 2. กากแร่: หลังจากสกัดทองคำ �แล้ว จะเหลือกากแร่ซึ่งยังคง มีสารหนูในปริมาณสูง กากแร่เหล่านี้หากไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสม สารหนูจะค่อยๆ แพร่กระจายสู่ดินและแหล่งน้ำ �ใกล้เคียง 3. การเผาแร่: ในกระบวนการสกัดทองคำ �บางวิธี โดยเฉพาะกับ แร่ที่เรียกว่า “แร่ทนไฟ” จะต้องนำ �แร่ไปเผาเพื่อกำ �จัดสารอื่นที่ไม่ต้องการ เช่น ซัลเฟอร์ ในระหว่างการเผาจะเกิดแก๊สอาร์เซนิกไตรออกไซด์ (As 2 O 3 ) ซึ่งเป็นสารหนูในรูปของแก๊ส และสามารถฟุ้งกระจายไปในอากาศได้ เมื่อ แก๊สเหล่านี้ตกลงมาพร้อมกับฝนก็จะทำ �ให้ดิน แหล่งน้ำ � พืชผล และสิ่งมีชีวิต ต่างๆ ปนเปื้อนสารหนู ปฏิกิริยาเคมีของการเผาแร่ที่มีสารหนู (อาร์เซโนไพไรต์): 2FeAsS + 5O 2 → 2SO 2 + Fe 2 O 3 + As 2 O 3 อาร์เซโนไพไรต์ + แก๊สออกซิเจน → ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ + เหล็กออกไซด์ + อาร์เซนิกไตรออกไซด์ จากปฏิกิริยานี้จะเห็นได้ว่าเมื่อเผาแร่อาร์เซโนไพไรต์ จะเกิด แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์และอาร์เซนิกไตรออกไซด์ ซึ่งเป็นสารหนูที่ สามารถปนเปื้อนสิ่งแวดล้อมได้ 4. การชะล้างโดยแบคทีเรีย: แบคทีเรียบางชนิดสามารถช่วย ในการละลายแร่ที่มีสารหนู ทำ �ให้สารหนูถูกชะล้างออกมาจากแร่และ ปนเปื้อนลงสู่น้ำ �ใต้ดินได้ โดยเฉพาะในบริเวณที่มีน้ำ �ทิ้งจากเหมืองที่มี ความเป็นกรด ดังนั้น สารหนูจากเหมืองทองคำ �สามารถเข้าสู่สิ่งแวดล้อมได้ทั้ง ในรูปของของแข็งที่ปนเปื้อนในดินและกากแร่ และในรูปของแก๊สที่เกิดจาก การเผาแร่ ซึ่งต่อมาสามารถปนเปื้อนดินและน้ำ �ได้อีกทอดหนึ่ง การปล่อย แก๊สจากการเผาแร่โดยไม่มีการควบคุมที่ดี และการจัดการกากแร่และ น้ำ �ทิ้งจากเหมืองที่ไม่เหมาะสม เป็นสาเหตุหลักของการปนเปื้อนสารหนู ในบริเวณใกล้เคียงเหมืองทองคำ � (Eisler 2004) สารพิษเหล่านี้สามารถ ไหลลงสู่แหล่งน้ำ �ในบริเวณใกล้เคียง และด้วยแรงโน้มถ่วงและการไหลของ กระแสน้ำ � สารปนเปื้อนเหล่านี้จะค่อยๆ เคลื่อนที่และแพร่กระจายไปตาม ระบบนิเวศแม่น้ำ � ข้ามพรมแดนจากแม่น้ำ �กกในประเทศเมียนมามายัง แม่น้ำ �กกในประเทศไทย การเดินทางของสารพิษในระบบนิเวศแม่น้ำ �ไม่ได้หยุดอยู่แค่ การปนเปื้อนในน้ำ �เท่านั้น สารพิษเหล่านี้สามารถสะสมในตะกอนดินที่ ก้นแม่น้ำ � และถูกดูดซึมโดยสิ่งมีชีวิตในน้ำ � เช่น พืชน้ำ �และสัตว์น้ำ �ขนาดเล็ก กระบวนการที่เรียกว่า “การสะสมทางชีวภาพ” (Bioaccumulation) นี้ ทำ �ให้ความเข้มข้นของสารพิษเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเคลื่อนที่ผ่านห่วงโซ่อาหาร สัตว์น้ำ �ขนาดใหญ่ที่กินสัตว์น้ำ �ขนาดเล็กเข้าไปจะได้รับสารพิษในปริมาณ ที่สูงขึ้น และในที่สุด สารพิษเหล่านี้ก็จะไปสะสมในร่างกายของมนุษย์ที่ บริโภคสัตว์น้ำ �เหล่านั้น นอกจากนี้ Ko (2021) ยังได้รายงานผลการตรวจพบ ปริมาณโลหะหนักในขิงจากกรุงเทพและย่างกุ้งเพื่อประเมินความเสี่ยง ผลกระทบต่อสุขภาพที่เป็นผลมาจากการปนเปื้อนของโลหะหนักในดิน (ทั้งที่พบทั่วไปตามธรรมชาติ และอันเป็นผลมาจากกิจกรรมต่างๆ ของ

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5