นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 254

ปีที่ 53 ฉบับที่ 254 พฤษภาคม - มิถุนายน 2568 | 39 ด้านที่ประเมิน ด้านการเรียนรู้และการพัฒนาความรู้ ด้านความคิดสร้างสรรค์ ด้านการทำ �งานร่วมกับผู้อื่น ด้านความมุ่งมั่นและรับผิดชอบ ด้านจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม 4.3 4.1 3.95 4 4.25 1.71 2.31 2.52 2.57 2.23 ดีมาก ดี ดี ดี ดีมาก ระดับคะแนนเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ผลการประเมิน รายการเปรียบเทียบ คะแนนก่อนเรียน - หลังเรียน 20.10 25.40 0.000 6.235 แตกต่างกันอย่างมี นัยสำ �คัญ (p < .05) ค่าเฉลี่ย ก่อนเรียน ค่าเฉลี่ย หลังเรียน p-value t-value ผลการทดสอบทางสถิติ ผลการดำ �เนินงาน ตาราง 1 ผลคะแนนเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมินคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของผู้เรียนรายด้าน ด้วย กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับรูปแบบการปฏิบัติงาน 6C Model สำ �หรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากผลการประเมินคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของผู้เรียนทั้ง 30 คน พบว่า ผู้เรียนจำ �นวน 27 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 81 ผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำ �หนด ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจ โดยคะแนนเฉลี่ยรวมของทั้งชั้นอยู่ในช่วง 3.41 - 5.00 ซึ่งตรงตามเกณฑ์ ระดับ “ดี” เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการเรียนรู้และพัฒนาความรู้ และด้านจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม มีคะแนนเฉลี่ย สูงสุด อยู่ในระดับ “ดีมาก” สะท้อนถึงความสามารถของผู้เรียนในการแสวงหาความรู้และการประพฤติตนอย่างเหมาะสมในสังคม ด้านความคิดสร้างสรรค์ การทำ �งานร่วมกับผู้อื่น และความมุ่งมั่นและรับผิดชอบ อยู่ในระดับ “ดี” ซึ่งแสดงให้เห็นถึงศักยภาพ ของผู้เรียนในการสร้างสรรค์แนวคิดใหม่ การทำ �งานร่วมกับผู้อื่น และความตั้งใจในการทำ �งาน แม้ยังมีความแตกต่างกันในรายบุคคลอยู่บ้าง โดยรวม ผู้เรียนมีคุณลักษณะความเป็นนวัตกรในระดับที่ดีและควรได้รับการส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง สำ �หรับผลการทดสอบ t-test แบบ Dependent Samples แสดงให้เห็นว่า คะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำ �คัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ตาราง 2 ผลการทดสอบ t-test แบบ Dependent Samples (n = 30) เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยกระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับรูปแบบการปฏิบัติงาน 6C Model สำ �หรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) ด้านที่ประเมิน เนื้อหาและกระบวนการเรียนรู้ ความสนุกและแรงจูงใจในการเรียน การมีส่วนร่วมและการทำ �งานกลุ่ม การนำ �ไปใช้ต่อยอดในชีวิต/การเรียนรู้ต่อยอด ภาพรวมของประสบการณ์การเรียนรู้ 4.35 4.1 4.05 4.2 4.3 0.45 0.6 0.55 0.5 0.48 ดีมาก ดี ดี ดี ดีมาก ระดับคะแนนเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ผลการประเมิน จากตาราง 2 แสดงให้เห็นว่าคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน (25.40 คะแนน) สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน (20.10 คะแนน) โดยผลการทดสอบ t-test แบบ Dependent Samples พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ �คัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 6.235, p = 0.000) ผลการวิจัยนี้ สะท้อนให้เห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่นำ �มาใช้มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนได้อย่างชัดเจนเนื่องจาก คะแนนหลังเรียนสูงขึ้นอย่างมีนัยสำ �คัญทางสถิติ ตาราง 3 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนหลังการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับรูปแบบการปฏิบัติงาน 6C Model สำ �หรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5