นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 254
54 | นิตยสาร สสวท. สิ่งแวดล้อมมีบทบาทในการประเมินผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์และ มลภาวะต่อระบบนิเวศ ตลอดจนการจัดทำ �ข้อมูลพื้นฐานที่สำ �คัญเพื่อใช้ ในการคาดการณ์ การรับมือ และการบริหารจัดการปัญหาภาวะโลกร้อน และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในระดับโลกอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ เพื่อสนับสนุนการกำ �หนดนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมในระดับโลก และ ส่งเสริมความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศอย่างยั่งยืน ซึ่งนับ เป็นภารกิจที่มีความสำ �คัญยิ่งต่อการคงไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตของสิ่งมีชีวิต ทุกชนิดบนโลก และการดำ �รงอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน ต่อไปในอนาคต ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดใน “ขั้วโลกเหนือ-ขั้วโลกใต้” ไม่ใช่ เรื่องไกลตัว การศึกษาสภาพแวดล้อมบริเวณขั้วโลกมีบทบาทสำ �คัญ อย่างยิ่งในการเสริมสร้างความเข้าใจของนักวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมของโลกทั้งในอดีตและปัจจุบันผ่านการวิเคราะห์ตัวชี้วัด สำ �คัญ เช่น การละลายของน้ำ �แข็ง ระดับน้ำ �ทะเล การเปลี่ยนแปลง ของประชากรสัตว์ที่อาศัยอยู่ในขั้วโลกทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ซึ่ง บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน ตลอด จนการติดตามและคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ ยังช่วย ในการศึกษาผลกระทบของปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ เช่น พายุและ ความกดอากาศ ซึ่งอาจมีอิทธิพลต่อภูมิภาคอื่นๆ ของโลก การวิจัยด้าน Dialogue Earth. (2020). Nine extraordinary Chinese research vessels. Zhang Chun, 2 October 2020, Retrieved May 29, 2025, from https://dialogue.earth/en/ ocean/15239-nine-extraordinary-chinese-research-vessels/. Sarakadee Lite. (2568). เสว่ยหลง 2: เรือตัดน้ำ �แข็งสุดล้ำ �สัญชาติจีน กับภารกิจสำ �รวจขั้วโลกในสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง. สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม 2568, จาก https://www.sarakadeelite.com/better-living/xue-long-2/. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2568). “เสว่ยหลง 2” เรือตัดน้ำ �แข็งสำ �รวจขั้วโลกจากจีนเยือนไทยเป็นครั้งแรก เปิดประตูสู่การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมระดับโลก. ข่าวสารจุฬาฯ วันที่ 16 พฤษภาคม 2568. https://www.chula.ac.th/news/237213/. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2568). นักวิจัยจุฬาฯ ตัวแทนไทยร่วมคณะสำ �รวจแอนตาร์กติกบนเรือตัดน้ำ �แข็ง “เสว่ยหลง 2” จากจีน ตามรอยไมโครพลาสติก ถอดรหัสผลกระทบโลกร้อน สู่จิ๊กซอว์ความรู้เพื่อโลก. ข่าวสาร จุฬาฯ วันที่ 21 พฤษภาคม 2568. https://www.chula.ac.th/news/238476/. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2567). อาจารย์วิศวฯ มช. สุดเจ๋ง ! คนไทยคนแรกที่ไปถึงขั้วโลกใต้ ร่วมกับกลุ่มวิจัยชั้นนำ � ทำ �พันธกิจในโครงการ IceCube Upgrade. วันที่ 5 มกราคม 2567. https://www.cmu.ac.th/th/article/1754e8c2-c210-4865-8c2a-f92554867694. มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ �ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. (2568). การค้นพบสารก่อมะเร็งเดินทางไปไกล จากแผ่นดินใหญ่ถึงขั้วโลกใต้. วันที่ 28 พฤษภาคม 2568. https://www.princess-it.org/project-polar/book-polar/pdf05/. มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ �ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. (2568). การตรวจวัดอนุภาคนิวตรอน จากการสำ �รวจตัดข้ามทะเล (Latitude Survey). วันที่ 28 พฤษภาคม 2568. https://www.princess-it.org/project-polar/book-polar/pdf02/. มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ �ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. (2568). การเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมของทวีปแอนตาร์กติกา. วันที่ 28 พฤษภาคม 2568. https://www.princess-it.org/project-polar/book-polar/pdf10/. มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ �ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. (2568). ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลที่ขั้วโลก. วันที่ 28 พฤษภาคม 2568. https://www.princess-it.org/project-polar/book-polar/pdf07/. มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ �ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. (2568). เทคโนโลยีจุลินทรีย์ เพื่อการบำ �บัดสิ่งแวดล้อม. วันที่ 28 พฤษภาคม 2568. https://www.princess-it.org/project-polar/book-polar/pdf09/. มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ �ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. (2568). ผลกระทบของภาวะโลกร้อน ที่มีต่อขั้วโลก. วันที่ 28 พฤษภาคม 2568. https://www.princess-it.org/project-polar/book-polar/pdf06/. มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ �ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. (2568). สมุทรศาสตร์สิ่งแวดล้อมชายฝั่ง แบบจำ �ลองทางคอมผิวเตอร์ เพื่อศึกษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล. วันที่ 28 พฤษภาคม 2568. https://www.princess-it.org/project-polar/book-polar/pdf08/. บรรณานุกรม ปี พ.ศ. 2568 ดร.อุดมศักดิ์ ดรุมาศ นักวิจัยผู้ร่วมเดินทางกับเรือเสว่ยหลง 2 สำ �รวจไมโครพลาสติกในทะเลลึก ตะกอนดิน สิ่งมีชีวิต และผลกระทบจากภาวะโลกร้อนที่กำ �ลังเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ ธรรมชาติ ณ ขั้วโลกใต้ เริ่มจากพื้นที่นอกเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศนิวซีแลนด์ ไปจนถึงน่านน้ำ �ของทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งถือเป็นหนึ่งในพื้นที่สำ �คัญที่สุดของโลก ที่สะท้อนการเปลี่ยนแปลงเชิงระบบของสิ่งแวดล้อม โดยใช้เครื่องมือ 2 ชนิดหลัก ได้แก่ ระบบกรองน้ำ �ความดันสูงบนเรือ และเครื่อง CTD วัดคุณสมบัติน้ำ �ทะเล ที่มา: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2568)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5