นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

39 ปีที่ 49 ฉบับที่ 230 พฤษภาคมี ที่ ั บี่ - มิถุนายน 2564ิ ถุน นอกจากนี้ สิงคโปร์ยังได้ทบทวนเพื่อวางแผนต่อไปด้วยว่า จะใช้ ICT ในการเรียนการสอนอย่างไรให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด โดยมีข้อพิจารณาดังนี้ • ความสะดวก ความคล่องตัวในการเรียนการสอน • โอกาสในการมีปฏิิสัมพันธ์ของนักเรียนกับเพื่อน ครู เนื้อหาวิชา และชุมชน • การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การได้รับความรู้ ตลอดจนทักษะในการใช้ ICT การจัดการศึกษาในช่วงการระบาดของโควิด 19 ดังกล่าวข้างต้น สิงคโปร์ได้บรรจุรูปแบบการเรียนรู้้�ท ี้าน (HBL) เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษาในช่วงปกติต่อไป อย่างไรก็ตาม แม้ว่า HBL จะช่วยให้การดำ �เนินการเรียนการสอนเกิดขึ้นได้ อย่างดีในช่วงวิกฤติ สามารถส่งเสริมให้นักเรียนฝึกกำ �หนดแนวทางการเรียนรู้ของตัวเองโดยไม่ต้องพึ่งพาผู้้�อ น ฝึกความเป็น ระเบียบและสามารถจัดการชีวิตของตนเองได้ แต่เนื่องจากการเรียนรู้เป็นกิจกรรมทางสังคมที่่่วยส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม และอารมณ์ ดังนั้น การศึกษาแบบปกติที่พบหน้ากันยังเป็นสิ่งจำ �เป็น จึงทำ �ให้เกิดแนวคิดในการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) ระหว่างการเรียนที่โรงเรียนและการเรียนที่่้าน ซึ่่งสิงคโปร์ได้ศึกษาเรื่องนี้มาระยะหนึ่งแล้วก่อนหน้า ที่จะประสบกับช่วงวิกฤติ เกิดเป็นภาพของการจัดการเรียนรู้้�น ี้้�ัดเจนมากขึ้น และสามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียน การสอนต่อไปในอนาคต รายละเอียดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) ติดตามได้ในฉบับต่อไป สิ่� งที่่� ได้เรียนร้ ากการแบ่่งปันของสิิงคโปร์ การศึกษาการจัดการเรียนการสอนของสิงคโปร์ในช่วงวิกฤติ ดังกล่าว จะเห็นได้ชัดเจนว่าสิงคโปร์สามารถเปลี่ยนวิกฤติที่เกิดขึ้น ให้เป็นโอกาสได้อย่างดีเยี่ยม โดยเฉพาะการอำ �นวยให้การเรียนการสอน ดำ �เนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้จะอยู่ในช่วงวิกฤติก็ตาม หากวิเคราะห์ให้ลึกลงไปถึงปัจจัยหรือที่มาของการรับมือกับ การเรียนการสอนในช่วงวิกฤติได้อย่างน่าชื่นชม ก็น่าจะมาจากสิงคโปร์ มีความเป็นเลิศในด้านการวางแผนอย่างเป็นระบบ มีการศึกษาวิธี การเรียนการสอนใหม่ๆ ในแบบต่างๆ ที่สามารถนำ �มาปรับใช้ในช่วงวิกฤติ บรรณานุกรม Chang, Suo Hui. (2021). Sharing on distance learning from a teacher’s perspective. Distance Learning in the Time of Crisis: The Singapore Experience . The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. Bangkok. Online Lecture. Pak, Tee Ng. (2017). Learning From Singapore: The Power of Paradoxes. New York: Routledge. Seto, Cynthia. (2021). Overview of the focus of Mathematics and Science learning in Singapore. Distance Learning in the Time of Crisis: The Singapore Experience . The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. Bangkok. Online Lecture. Tan, Dai Hwee. (2021). Sharing on COVID-19 and the future of education. Distance Learning in the Time of Crisis: The Singapore Experience. The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. Bangkok. Online Lecture. ได้ทันท่วงที และหากพิจารณาด้านแหล่งเรียนรู้และทรัพยากรทางการศึกษา จะพบว่ามีการจัดเตรียมและเพิ่มจำ �นวนสื่ออุปกรณ์ (ICT) ตลอดจนขอความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชน เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียนทุกกลุ่มอย่างเต็มที่ อีกด้านหนึ่ง ที่่ำ �คัญมากเช่นกันก็คือ ทุกโรงเรียนนำ �ไปใช้และปฏิิบัติตามแผนอย่างจริงจัง ทำ �ให้การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมและมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ในทางปฏิิบัติเรายังได้เรียนรู้้ีกว่า การที่จะนำ �โปรแกรมหรือแอปพลิเคชันใดมาใช้ จะต้องมีการพิจารณา เครื่องมือเหล่านั้นก่อนว่ามีความเหมาะสมกับวัยของนักเรียนหรือไม่ นักเรียนสามารถเรียนรู้้้วยตนเองได้ในระดับใด ส่งเสริม การเรียนรู้มากน้อยเพียงใด สนับสนุนการเรียนแบบร่วมมือหรือส่งเสริมการทำ �งานเป็นกลุ่มหรือไม่ ซึ่่งทั้งหมดนี้้็เพื่อทำ �ให้ การเรียนรู้้�น นๆ มีความหมายต่อตัวนักเรียนนั่นเอง

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1