นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564
5 ปีที่ 49 ฉบับที่ 230 พฤษภาคมี ที่ ั บี่ - มิถุนายน 2564ิ ถุน เทคนิคการปฏิิบัติการ ประสบการณ์ และทัศนคติทางวิชาชีพจากระบบ ทีมนักวิจัยพี่เลี้ยง (Mentor) เพื่อมุ่งพัฒนาส่งเสริมให้เป็นนักวิจัยรุ่นเยาว์ ทางด้านพันธุศาสตร์โมเลกุลพืช จากกิจกรรมฝึกทำ �โครงงานวิทยาศาสตร์ด้านพันธุศาสตร์ โมเลกุลพืช พบว่านักเรียนสามารถศึกษาและแก้โจทย์ปัญหาวิจัยเบื้องต้น ในขอบเขตงาน 2 ประเภท ได้แก่ การบ่งชี้และจัดจำ �แนกพืชด้วย เครื่องหมายโมเลกุล ดีเอ็นเอ และการค้นหาและศึกษายีนเป้าหมาย ในพืช โดยสามารถบ่งชี้และจัดจำ �แนกพืชด้วยเครื่องหมายโมเลกุล ดีเอ็นเอบริเวณ ITS (Internal Transcribed Spacer) ในพืชวงศ์โกงกาง ทุเรียน กล้วยไม้ช้างกระ ห้อม พืชสกุลค้างคาว ถั่วมะแฮะ เงาะ ศึกษายีน matK (Maturase K) ในพืชสกุลค้างคาว กล้วยไม้ช้างกระ ห้อม และ ถั่วมะแฮะ และรวมทั้งยีน AT3 (Acyltransferase 3) ในพริก และสามารถ ค้นหาและศึกษายีนเป้าหมายในพืช เช่น ยีนในกลุ่มวิถีสังเคราะห์ แคโรทีนอยด์ (Carotenoid) ในส้มโอ จำ �ปา ฟักข้าว และผักหวานบ้าน ยีนในกลุ่มวิถีสังเคราะห์แอนโทไ ยานิน (Anthocyanin) ในมะลิ บัวหลวง ดอนญ่า และแค ยีนในกลุ่มวิถีสังเคราะห์โมโนเทอร์พีน (Monoterpene) บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร ได้เปิดรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่สนใจทดลองฝึกทำ �งานวิจัยด้าน พันธุศาสตร์โมเลกุลพืชระดับเบื้องต้น ให้เข้ามาเรียนรู้้� ท ี้องปฏิิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพพืช โดยเข้าร่วมฝึกทำ �โครงงานวิทยาศาสตร์ ด้านพันธุศาสตร์โมเลกุลพืชจากโจทย์วิจัยที่พบในประเทศไทย ซึ่่งศึกษาพืชในท้องถิ่น พืชหายากหรือใกล้สูญพันธุ์ พืชสมุนไพร และพืชเศรษฐกิจ โดยเริ่มดำ �เนินกิจกรรมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน มีนักเรียนผ่านการฝึกฝนการทำ �โครงงานวิทยาศาสตร์ จำ �นวน 74 คน จำ �นวน 27 โครงงาน ซึ่่งมีการแนะนำ �และดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิดจากทีมคณะนักวิจัย ธนาคารทรัพยากรชีวภาพ แห่งชาติ ช่วยกระตุ้นให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการสามารถค้นหาคำ �ตอบของโจทย์วิจัยด้วยตนเองแบบ Project- B ased L earning และสามารถแก้ไขปัญหาวิจัยของโครงงานตามระเบียบวิธีวิจัยที่สอดคล้องกับจริยธรรมการวิจัย นักเรียนได้รับการถ่ายทอดความรู้ ภา 2 การจัดกิจกรรมการฝึกทำ �โครงงานวิทยาศาสตร์ด้านพันธุศาสตร์โมเลกุลพืชสำ �หรับเยาวชนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1