Previous Page  54 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 54 / 62 Next Page
Page Background

จีนมีโครงการจะส่งยานอวกาศฉางเอ๋อ 5 เพื่อไปน�

ำหิน

ดินดวงจันทร์กลับมายังโลกใน พ.ศ. 2560 และส่งมนุษย์ไป

ยังดวงจันทร์ใน พ.ศ. 2568-2573

ฉางเอ๋อ 2 ไปอยู่ ณ ต�

ำแหน่ง L

2

เพื่อศึกษาดวงอาทิตย์

และสนามแม่เหล็กของโลก ในการเดินทางจากวงโคจรรอบ

ดวงจันทร์ยานอวกาศฉางเอ๋อ 2 ใช้เวลา 77 วัน จึงถึงจุด L

2

รูปที่ 5 ยานฉางเอ๋อ 3 แสดงรถยูตูอยู่ด้านบน

ซึ่งจะลงจากยานทางบันไดสีด�

(ที่มา:

http://motherboard.vice.com/blog/chinas-nuclear-

rover-will-sample-the-moon)

ยานลงดวงจันทร์ฉางเอ๋อ 3 มีมวล 1,200 กิโลกรัม โดยรถ

มีมวล 120 กิโลกรัม สูง 1.5 เมตร ก�

ำหนดวนรอบดวงจันทร์

ในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เวลา 2:30 UTC และลงสัมผัส

ผิวดวงจันทร์ในวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ณ ไซนัส อิริดุม

(อ่าวรุ้ง) ที่ละติจูด 44° เหนือ เป็นที่ราบของลาวาบะซอลต์ซึ่ง

เป็นส่วนต่อทางตะวันตกเฉียงเหนือของมาเรอิมเบรียม (ทะเล

แห่งฝน) ฉางเอ๋อ 3 จะเป็นยานอวกาศล�

ำแรกที่ลงสัมผัสผิวดวง

จันทร์อย่างนุ่มนวลต่อจากยานลูนา 24 ของสหภาพโซเวียต

รัสเซียเมื่อ พ.ศ. 2519 หรือ 37 ปีมาแล้ว

รูปที่ 6 ต�

ำแหน่งลงบนดวงจันทร์ของฉางเอ๋อ 3

(ที่มา:

http://en.wikipedia.org/wiki/Chang%27e_3

)

ฉางเอ๋อ 3 น�

ำมลภาวะไปสู่ดวงจันทร์

การลงดวงจันทร์ของฉางเอ๋อ 3 ต้องยิงจรวดต้านการ

เคลื่อนที่เพื่อให้ยานลงช้า ๆ ไอเสียของจรวดและฝุ่นดวงจันทร์

ที่ฟุ้งกระจายจะท�

ำให้กลายเป็นมลภาวะบนดวงจันทร์ ใน

ระหว่างนี้มียานอวกาศขององค์การนาซาเพื่อส�

ำรวจบรรยากาศ

และฝุ่นบนดวงจันทร์ชื่อยานลาดี (LADEE: Lunar Atmos-

phere and Dust Environment Explorer) ยานลาดีออก

จากโลกเมื่อ 7 กันยายน พ.ศ. 2556 เมื่อเวลา 03:27 UTC

ไปวนรอบดวงจันทร์เหนือบริเวณศูนย์สูตร เพื่อศึกษาสภาพ

แวดล้อมของดวงจันทร์ในระดับเอกโซสเฟียร์รวมทั้งฝุ่นรอบ

ดวงจันทร์ โดยใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ บนยาน ได้แก่ เครื่องตรวจ

จับฝุ่น เครื่องวัดสเปกตรัม และการสาธิตด้านเทคโนโลยี การ

สื่อสารด้วยแสงเลเซอร์

รูปที่ 7 ภาพยานลาดี (Courtesy NASA/Ames)

(ที่มา:

http://lasp.colorado.edu/home/missions-projects/

quick-facts-ladee/)

วงโคจรของยานลาดี เป็นรูปวงรีโดยมีจุดใกล้ดวงจันทร์

ที่สุดอยู่ที่ระดับสูง 20 กิโลเมตร และจุดไกลดวงจันทร์ที่สุดอยู่

ที่ระดับสูง 60 กิโลเมตร ใช้เวลาประมาณ 114 นาที ในการ

โคจรรอบดวงจันทร์ 1 รอบ ซึ่งเข้าสู่วงโคจรแล้วเมื่อ 6 ตุลาคม

พ.ศ. 2556 เวลา 10:57 UTC มีแผนการปฏิบัติงาน 100 วัน

นิตยสาร สสวท.

54