

ชนะเลิศการประกวด “นวัตกรรมอนุรักษ์น�้
ำในชุมชนอย่างยั่งยืน”
งานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเยาวชน ครั้งที่ 9
บริษัทน�้
ำประปาไทย จ�
ำกัด (มหาชน) ร่วมกับสถาบันส่ง
เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) มอบรางวัล
ผู้ชนะเลิศ การประกวด “นวัตกรรมอนุรักษ์น�้
ำในชุมชนอย่าง
ยั่งยืน” ในโครงการยุวชนไทยร่วมใจรักษ์น�้
ำ ประจ�
ำปี 2556
(Thai Tap Junior Water Prize 2013) เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์
2557 ณ อิมแพคเมืองทองธานี ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
ระดับชาติ ครั้งที่ 63 ซึ่งได้รับเกียรติจาก Mr.Goran Haag ที่
ปรึกษาเอกอัครราชทูตสวีเดนประจ�
ำประเทศไทยเข้าร่วมงาน
โดยปีนี้ทีมจาก “โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา” จ.สุราษฎร์ธานี คว้า
รางวัลสุดยอดนวัตกรรม การอนุรักษ์น�้
ำไปครองด้วยผลงาน
“พลาสติก GBC ที่เลี้ยงด้วยน�้
ำทิ้งจากการท�
ำยางแผ่นดิบ”
พร้อมรับโล่รางวัลและเงินรางวัล 150,000 บาท รวมถึงมี
โอกาสในการเข้าร่วมประกวด Stockholm Junior Water
Prize ประจ�
ำปี 2557 ณ กรุงสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ซึ่ง
เป็นการประกวดในระดับนานาชาติต่อไป
น�้
ำทิ้งจากการผลิตยางแผ่นดิบเป็นสาเหตุท�
ำให้เกิดน�้
ำ
เน่าเสีย ซึ่งส่งกลิ่นเหม็น เกิดมลภาวะทางน�้
ำและทางอากาศ
จากสถิติ พบว่า ในการผลิตยางแผ่นดิบ เพียง 20 แผ่นต่อวัน
จะเกิดน�้
ำเสียถึง 160 ลิตร
ในน�้
ำทิ้งจากการท�
ำยางแผ่นดิบ มีกรดอินทรีย์เจือปน
อยู่ โดยพบว่าสภาพกรดที่อยู่ในน�้
ำทิ้งจากการท�
ำยางแผ่นดิบ
เหมาะที่จะน�
ำมาเพาะเลี้ยงแบคทีเรียที่ชื่อ Acetobacterxy-
linum เนื่องจากแบคทีเรียชนิดนี้ ต้องการสภาพที่เป็นกรด
และมีแอมโมเนียมสูง นอกจากนั้นยังใช้คาร์บอน เป็นแหล่ง
ผลิตเซลลูโลสขึ้นมา
นักเรียนโรงเรียนสุราษฎร์พิทยา จึงได้น�
ำน�้
ำเสียเหล่านี้มา
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยใช้น�้
ำทิ้งจากการท�
ำยางแผ่น
ดิบ มาผลิต Gelatinous Bacterial Cellulose (GBC) เพื่อ
ปรับปรุงประยุกต์ใช้เป็นผลิตภัณฑ์
ทดแทนพลาสติกต่อไป นอกจาก
นั้นน�้
ำที่ได้จากการเพาะเลี้ยง
แบคทีเรียลเซลลูโลสยังมีสภาพเป็น
กรดสามารถน�
ำมาท�
ำยางแผ่นดิบได้
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(สสวท.) ร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ จะจัดการประชุมวิชาการ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเยาวชน ครั้งที่ 9 (วทท.เพื่อ
เยาวชน ครั้งที่ 9) ระหว่างวันที่ 30 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน
2557 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
กรุงเทพฯ การจัดงานนี้จะน�
ำเสนอผลงานวิจัยจากเยาวชนทั้ง
แบบบรรยายและโปสเตอร์ และยังมีการบรรยาย การเสวนา
และกิจกรรมที่น่าสนใจอื่น ๆ อีกมากมาย ดูรายละเอียดเพิ่ม
เติมที่เว็บไซต์
http://dpst.ipst.ac.thผลงานพลาสติก GBC ที่เลี้ยงด้วย
น�้
ำทิ้งจากการท�
ำยางแผ่นดิบ
ข่าวสาร สสวท.
นิตยสาร สสวท.
58