

55
3. การย่อยที่กระเพาะอาหาร มีของเหลว 3 ชนิด คือ เอน
ไซม์เปปซิน ( pepsin ) กรดไฮโดรคลอริกและน�้
ำช่วยในการย่อย
โดยเอนไซม์เพปซินจะย่อยโปรตีนให้เป็นโปรตีนโมเลกุลเล็ก ๆ
เรียกว่าเพปไทด์
4. การย่อยที่ล�
ำไส้เล็ก จะมีความมหัศจรรย์มากกว่าการ
ย่อยที่บริเวณอื่น มีการย่อยสารอาหารทั้ง 3 ประเภทคือ
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน โดยมีตัวช่วยคือ ตับ และ ตับอ่อน
ดังนี้
การย่อยคาร์โบไฮเดรต
มอลโทส กลูโคส + กลูโคส
ซูโครส กลูโคส + ฟรุกโทส
แลกโตส กลูโคส + กาแลกโทส
5. ล�
ำไส้ใหญ่ เป็นส่วนสุดท้ายของการย่อยอาหาร แต่จะมี
การดูดซึมน�้
ำและเกลือแร่กลับสู่กระแสเลือด ส่วนอาหารที่ย่อย
ไม่ได้จะเคลื่อนที่ลงสู่ล�
ำไส้ตรง ซึ่งอยู่เหนือทวารหนัก และค้าง
อยู่ที่ล�
ำไส้ตรงในรูปอุจจาระเพื่อรอขับถ่ายออกนอกร่างกาย
จากความรู้เรื่องระบบย่อยอาหาร จึงได้สร้างตัวช่วยเป็นเกม เช่น
เกมการหาความสัมพันธ์ของระบบย่อยอาหาร เกมนี้จะช่วยให้
เราเข้าใจมากขึ้นเพราะสามารถเชื่อมโยงได้ว่าในอวัยวะต่าง ๆ
มีรายละเอียดอะไรบ้าง
การย่อยโปรตีน
เพปโทด์ กรดอะมิโน
การย่อยไขมัน
ไขมัน + น�้
ำดี ย่อยโมเลกุลของไขมันให้มีขนาดเล็ก กรดไขมัน + กลีเซอรอล
4.1 ตับ (Liver)
ช่วยในการผลิตน�้
ำดี แล้วถูกน�
ำไปเก็บไว้ที่ถุงน�้
ำดี (Gall Bladder) ไม่ถือว่าเป็นเอนไซม์ เพราะจะเปลี่ยน
สภาพไปจากเดิม เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลงแล้ว น�้
ำดีเพียงแต่ท�
ำให้ไขมันมีขนาดเล็กลง
4.2 ตับอ่อน
เอนไซม์ที่สร้างมาจากตับอ่อน (Pancreas) มีสภาพเป็นเบสย่อยอาหารจากโมเลกุลใหญ่เป็นโมเลกุลเล็กจน
ร่างกายสามารถดูดซึมไปใช้ได้ เช่น จากน�้
ำตาลเป็นน�้
ำตาลกลูโคส โปรตีนที่เล็กที่สุด คือ กรดอะมิโน ไขมันถูกย่อยเป็นกรดไขมัน
และกลีเซอรอล
(ที่มา:
http://www.bknowledge.org/index.php/object/blog/access/bshow/srch/1/blid/6)
มอลเทส
แลกเทส
ไลเพส
ซูเครส
แลกแทส
(ที่มา:
http://www.bknowledge.org/index.php/object/blog/access/bshow/srch/1/blid/6)
ถุงน�้
ำดี
ตับอ่อน
ล�
ำไส้ใหญ่
ล�
ำไส้เล็กส่วนปลาย
ล�
ำไส้ใหญ่ส่วนต้น
ทวารหนัก
ไส้ตรง
ล�
ำไส้เล็ก
ต่อมน�้
ำย่อย