

จากความสงสัย สู่งานวิจัย
น�้
ำทิ้งจากการท�
ำยางแผ่นดิบ....
ได้เฟรนชิพที่สวีเดน
อรวรรณ ทัศนเบญจกุล / ณัฏฐณิชา ใจรังษี / ปัณณวัฒน์ เพียรจัด
นักเรียนชั้น ม.5 โรงเรียนสุราษฎร์พิทยาคม จ.สุราษฎร์ธานี
51
ปีแห่งความภาคภูมิใจในความสามารถของเยาวชนไทยจากโรงเรียนสุราษฎร์พิทยา จ.สุราษฎร์ธานี ที่ส่งผลงานวิจัยด้านสิ่งแวดล้อม
เข้าแข่งขันในงาน Stockholm Junior Water Prize 2014 ณ ประเทศสวีเดน เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม - 5 กันยายน พ.ศ. 2557 งานวิจัย เรื่อง :
นวัตกรรมเปลี่ยนน�้
ำทิ้งจากการท�
ำยางแผ่นดิบ สู่ผลิตภัณฑ์ทดแทนพลาสติก (Transforming wastewater from raw rubber sheets
production into GBC plastic) และได้รับรางวัล Diploma of Excellent ซึ่งเป็นผลงานที่แสดงความสามารถในกระบวนการคิดวิเคราะห์
คิดริเริ่มสร้างสรรค์ของนักเรียนไทย ไม่แพ้ชาติใด ๆ ในโลก ติดตามอ่านความประทับใจของนักเรียนทั้ง 3 คน เล่าประสบการณ์ในครั้งนี้
แรงบันดาลใจอะไรในการคิดท�
ำงานวิจัยเรื่องนี้
แรงบันดาลใจในการท�
ำโครงงานนี้ เกิดจากเมื่อเราเดินทาง
ผ่านบ้านที่ท�
ำยางแผ่นดิบจากน�้
ำยางพารา จะได้กลิ่นเหม็นรุนแรงมาก
จึง
สงสัย
ว่ากลิ่นเหล่านั้น คือกลิ่นจากอะไร และมีสาเหตุจากอะไร
จากนั้นจึงร่วมกันศึกษาและพบว่าน�้
ำทิ้งจากการท�
ำยางแผ่นดิบ
ในกระบวนการแปรรูปน�้
ำยางพาราให้กลายเป็นยางแผ่นดิบนั้น
ท�
ำให้เกิดปัญหาน�้
ำเน่าเสีย ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ก่อให้เกิดปัญหา
ต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากมีการใช้กรดอินทรีย์
กรดก�
ำมะถัน กรดฟอร์มิก เพื่อท�
ำให้น�้
ำยางจับตัวเป็นก้อน และ
มีสารอินทรีย์ต่าง ๆ หลงเหลืออยู่ พวกเราจึงได้ระดมความคิด
หาวิธีที่จะสามารถก�
ำจัดหรือลดน�้
ำทิ้งจากการท�
ำยางแผ่นดิบ
โดยท�
ำการศึกษาค้นคว้าต่อไปว่าสภาพกรดนี้เราจะเปลี่ยน
ไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง และพบว่ามีแบคทีเรียชนิดหนึ่ง
ชื่อ
Acetobacter xylinum
เจริญเติบโตได้ดีในสภาวะที่เป็นกรด
และแบคทีเรียชนิดนี้สามารถผลิตเส้นใยขนาดอนุภาคนาโน
เซลลูโลส จึงคิดที่จะน�
ำน�้
ำทิ้งจากการท�
ำยางแผ่นดิบที่มีสภาพ
เป็นกรดมาใช้ในการเพาะเลี้ยงแบคทีเรีย
Acetobacter xylinum
นี้
โดยเราต้องทดลองกันอยู่นาน จนในที่สุดก็ได้เส้นใยที่เรียกว่า
เจลาตินัสแบคทีเรียลเซลลูโลส
ที่ดึงแล้วมีเส้นใยขนาดเล็กมาก
พวกเราคิดต่ อไปว่ าจะเอาสิ่งที่ได้มาท�
ำอะไรต่ อไปได้ อีก
และได้ค้นคว้าพบว่าในต่างประเทศมีการน�
ำเซลลูโลสจากพืชมา
ท�
ำเป็นพลาสติก แต่ต้องผ่านกระบวนการหลายขั้นตอน ดังนั้น
เราจึงคิดที่จะน�
ำ
เจลาตินัสแบคทีเรียลเซลลูโลส
นี้มาลองท�
ำเป็น
พลาสติกและได้น�
ำไปประดิษฐ์เป็นวัสดุต่าง ๆ และเราก็เกิด
ค�
ำถามต่อไปอีกว่าถ้าสามารถลดน�้
ำทิ้งจากการท�
ำยางแผ่นดิบ
โดยเปลี่ยนให้กลายเป็นเซลลูโลสได้แล้ว น�้
ำที่เหลือจากการเพาะ
เลี้ยงแบคทีเรีย จะเอาไปท�
ำอะไรกันดี จึงท�
ำการตรวจสภาพน�้
ำ
พบว่ามีสภาพเป็นกรด เนื่องจากแบคทีเรียชนิดนี้เป็นแบคทีเรีย
ชนิดผลิตกรด จึงทดลองน�
ำกรดที่ได้จากการเพาะเลี้ยงแบคทีเรีย
นี้กลับมาใช้ในการท�
ำยางแผ่นดิบ เป็นการจัดการกับของเหลือ
จึงไม่มีสิ่งเหลือทิ้งในกระบวนการ หรือเป็น Zero waste
management ดังนั้นในการท�
ำงานวิจัยครั้งนี้ พวกเราสามารถ
จัดการกับน�้
ำทิ้งจากการท�
ำยางแผ่นดิบโดยน�
ำกลับมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ ได้เป็นไบโอพลาสติก ในขณะเดียวกัน น�้
ำเสียจาก
การเพาะเลี้ยงแบคทีเรีย ก็สามารถจัดการให้เกิดประโยชน์โดย
น�
ำมาเป็นสารช่วยในการท�
ำยางแผ่นดิบ จึงไม่มีน�้
ำเสียเหลือทิ้ง
จากกระบวนการจัดการนี้ พวกเราจึงขยายผลให้ชุมชนได้ลองท�
ำ
บ้างโดยใช้อุปกรณ์ที่หาได้ง่าย ๆ ในครัวเรือน