

35
ปีที่ 43 ฉบับที่ 193 มีนาคม - เมษายน 2558
นิตยสาร สสวท.
35
ทัศนศึกษานอกสถานที่
น้อง ๆ ได้ไปทัศนศึกษาในสถานที่ที่มีสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน
ไป ทั้งทางบก ทะเล ป่าบก ป่าชายเลน และการจัดการน�้
ำ
สะอาดเพื่อการอุปโภคและบริโภคได้แก่
1. Gardens by the Bay
เป็นสวนพฤกษศาสตร์ริมอ่าว
มารีน่าที่ใหญ่ที่สุดในโลก เรียกว่าเป็น โอเอซิสใจกลางประเทศ
สิงคโปร์ บนพื้นที่ 1,011,714 ตารางเมตร เป็นสถานที่รวบรวม
พรรณไม้นานาชนิดจากทั่วทุกมุมโลกจัดตกแต่งอย่างสวยงาม
เต็มพื้นที่ โดยมีการผสมผสานเทคโนโลยีที่ล�้
ำสมัยเข้ากับ
พฤกษศาสตร์ ภายในสวน แบ่งออกเป็นหลายโซน มีทั้งพรรณไม้
ที่มาจากป่า พรรณไม้แถบมรสุม มีโดมดอกไม้ (Flower Garden)
ที่มีการใช้เทคโนโลยีและน�้
ำควบคุมอุณภูมิให้เหมาะกับพรรณไม้
ที่มาจากแหล่งที่ต่าง ๆ เช่น ทะเลทราย ตะวันออกกลาง
แอฟริกาใต้ บางส่วนก็มาจากแถบเมดิเตอร์เรเนียน และบางส่วน
จากประเทศไทย ซึ่งน้องๆ ได้ทัศนศึกษาพรรณไม้ต่าง ๆ และท�
ำ
กิจกรรมร่วมกันเป็นทีม
2. Tropical Marine Science Institute (TMSI) Marine
Laboratory at St John’s Island
ตั้งอยู่นอกชายฝั่ง ทาง
ตอนใต้ของแผ่นดินใหญ่ สิงคโปร์ ทางตอนเหนือของเกาะมี
ทะเลสาบที่มนุษย์สร้างขึ้น ทางตอนใต้เป็นที่สูงชัน มีชายฝั่งหิน
ธรรมชาติ และแนวปะการัง และป่าชายเลน โดยรวมแล้ว
St John’s Island เป็นเกาะที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ
และเหมาะส�
ำหรับท�
ำการวิจัยสิ่งมีชีวิตทางทะเลของภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ น้อง ๆ ได้ศึกษาการเพาะเลี้ยงสัตว์ทะเล
การดูแลรักษาทรัพยากรทางทะเลของสิงคโปร์ และเทคโนโลยี
การปลูกพืชโดยใช้ธาตุอาหารจากน�้
ำเลี้ยงปลากลับมาใช้ใหม่โดย
ไม่ต้องอาศัยดิน
3. MacRitchie Reservoir
เป็นอ่างเก็บน�้
ำที่เก่าแก่ที่สุด
ของสิงคโปร์ สร้างเสร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2411 เป็นหนึ่งในแหล่ง
น�้
ำ 8 แหล่ง ที่ใช้ในการผลิตน�้
ำประปาในประเทศสิงคโปร์
MacRitchie Reservoir มีป่าธรรมชาติที่มีความหลากหลาย
ทั้งพืชและสัตว์ ซึ่งมีทางเดินศึกษาธรรมชาติ ที่ชาวสิงคโปร์ใช้เป็น
พื้นที่ให้เยาวชนสิงคโปร์เรียนรู้สิ่งแวดล้อม และออกก�
ำลังกาย
4. NEWater
เป็นโรงงานบ�
ำบัดน�้
ำเสียและน�
ำกลับมาใช้
ใหม่เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2541 ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง
สาธารณูปโภคแห่งสิงคโปร์ และกระทรวงสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรน�้
ำ เพื่อให้ NEWater เป็นแหล่งผลิตน�้
ำส�
ำหรับการ
อุปโภคในประเทศสิงคโปร์ โดยผ่านกระบวนการผลิตที่ทันสมัย
ใช้เทคโนโลยี Reverse osmosis และ semi-permeable
membrane ซึ่งไวรัส แบคทีเรีย โลหะหนัก สารฆ่าแมลงต่าง ๆ
ไม่สามารถผ่านไปได้ ร่วมกับการใช้รังสี Ultraviolet (UV) เพื่อ
ความมั่นใจอีกครั้งจนได้น�้
ำที่มีคุณภาพสูง (The Public Utilities
Board (PUB), 2558) โดยเมื่อเปรียบเทียบคุณภาพน�้
ำที่ผลิตจาก
NEWater กับเกณฑ์มาตรฐานองค์การอนามัยโลก และคุณภาพ
น�้
ำจากแหล่งน�้
ำอื่น ๆ ทั้งน�้
ำฝน น�้
ำในอ่างเก็บน�้
ำ และน�้
ำประปา
ในด้านสี ความขุ่น ปริมาณสารอินทรีย์ตลอดจนปริมาณแบคทีเรีย
พบว่าน�้
ำ NEWater มีคุณภาพดีที่สุด จนสามารถดื่มได้ี
ที่ ั
บี่ ี
น