

คณะที่ปรึกษา
ประธานกรรมการ สสวท.
ผู้อำ�นวยการ สสวท.
รองผู้อำ�นวยการ สสวท.
บรรณาธิการบริหาร
ธรชญา พันธุนาวนิช
หัวหน้ากองบรรณาธิการ
พงษเ์ทพ บุญศรีโรจน์
กองบรรณาธิการ
ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ
ผู้อำ�นวยการสาขา/ฝ่าย
ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ/ผู้เชี่ยวชาญ
ขจิต เมตตาเมธา
ดร.ดวงกมล เบ้าวัน
ดร.เทพกัญญา พรหมขัติแก้ว
นันทฉัตร วงษ์ปัญญา
ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ
ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว
ดร.รณชัย ปานะโปย
ดร.สนธิ พลชัยยา
ดร.สุนัดดา โยมญาติ
ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ
ดวงมาลย์ บัวสังข์
เทอด พิธิยานุวัฒน์
นิลุบล กองทอง
รัชนีกร มณีโชติรัตน์
ศิลปเวท คนธิคามี
ดร.สมชาติ ไพศาลรัตน์
สินีนาฎ ทาบึงกาฬ
สิริมดี นาคสังข์
สุประดิษฐ์ รุ่งศรี
ดร.อนุชิต อารมณ์สาวะ
เจ้าของ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย
กรุงเทพมหานคร 10110
โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307
Call Center: 0-2335-5222
(ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท.
หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง
โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย
จักเป็นพระคุณยิ่ง)
วัตถุประสงค์
1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป
2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท.
3. เสนอความก้าวหน้าของวิทยาการในด้านการศึกษา
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน
การศึกษาของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน
4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ
ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
จากครูและผู้สนใจทั่วไป
"โครงการแกล้งดิน" เป็นโครงการตามพระราชด�ำริของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อแก้ปัญหาดินเปรี้ยว ลดความเป็นกรดของดินและเป็นการปรับปรุงคุณภาพ
ดินให้ดีขึ้นจนสามารถเพาะปลูกได้ เรามาศึกษาปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นผ่านหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์
วิชาเคมี (e-book) เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction) ผ่านแอพพลิเคชันฟรีจาก สสวท. ซึ่งมีเรื่องราว
มากมายรอให้คุณค้นหา
การศึกษาโครงสร้างของดีเอ็นเอจากองค์ประกอบทางเคมี ท�ำให้ทราบว่าประกอบด้วย
นิวคลีโอไทด์เชื่อมกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเตอร์จนเป็นสายโพลีนิวคลีโอไทด์ ในธรรมชาติดีเอ็นเอ
ประกอบด้วยสายโพลีนิวคลีโอไทด์สองสายจับกันและบิดเป็นเกลียวเวียนขวา การใช้เทคนิคพีซีอาร์
ได้รับการยอมรับว่าเป็นเทคโนโลยีที่ส�ำคัญมากต่องานด้านอณูชีวโมเลกุล การศึกษาโดยการใช้
สถานการณ์จ�ำลองสามารถประยุกต์ใช้ในการสอนเรื่องที่ยากให้เป็นง่ายด้วยสื่อที่ท�ำได้เอง ช่วยท�ำให้
เกิดความเข้าใจกระบวนการได้อย่างชัดเจน
ใครจะคิดว่าฟังก์ชันตรีโกณมิติจะอธิบายปรากฏการณ์ข้างขึ้นข้างแรมได้ ซึ่งจะช่วยจุดประกาย
ความคิดของผู้เรียนให้เห็นความเชื่อมโยงของคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ ในชีวิตจริง และจะมีผลต่อ
การเพิ่มบุคลากรที่เป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต
การปรับตัวตามเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในห้องเรียนได้
อย่างเหมาะสม ปัจจุบันมีการพัฒนาสื่อแอพพลิเคชันหลายรูปแบบที่ช่วยการเรียนการสอนในห้องเรียน
ซึ่งช่วยให้ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กันมากขึ้น เราขอแนะน�ำแอพพลิเคชันแพตเล็ต
ดาวเคราะห์มีการเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ด้วยความเร็วที่แตกต่างกัน การค�ำนวณคาบการโคจร
จะท�ำให้ทราบถึงต�ำแหน่งของดาวเคราะห์ต่างๆ การศึกษาถึงดาวเคราะห์ใกล้โลกที่สุด ท�ำให้เรา
ทราบถึงวันที่ดาวบนท้องฟ้าที่สวยงาม มีดวงจันทร์และดาวเคราะห์ดวงสว่างเรียงกันเป็นเส้นโค้ง
ตามแนวสุริยวิถี จากทิศตะวันตกมาทางทิศตะวันออก ในเวลาค�่ำวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 2018
วางแผนชมดาวเคราะห์กันได้เลยนะ
เฟซบุ๊ก นิตยสาร สสวท.
Facebook.com/ipstmagเป็นอีกช่องทางการสื่อสารที่จะท�ำให้เรา
ไม่ห่างกัน มีฉบับใหม่จะรีบแจ้งให้ทราบนะคะ
ธรชญา พันธุนาวนิช
บรรณาธิการบริหาร
เปิดเล่ม
สสวท.
ปีที่ 46 ฉบับที่ 211 มีนาคม - เมษายน 2561