Table of Contents Table of Contents
Previous Page  45 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 45 / 62 Next Page
Page Background

45

ปีที่ 46 ฉบับที่ 211 มีนาคม - เมษายน 2561

บรรณานุกรม

จันทรุปราคาเต็มดวง. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2561, จาก

http://thaiastro.nectec.or.th/skyevent/article/2214/.

ดาวเสาร์อยู่ใกล้โลกที่สุด. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2561, จาก

https://www.ianridpath.com/saturn.html.

ปรากฏการณ์จันทรุปราคา. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2561, จาก

https://danspace77.com/2018/01/28/total-lunar-eclipse-this-week/.

ระยะใกล้กันที่สุดของโลกกับดาวเคราะห์. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2561, จาก

https://www.ianridpath.com/jupiter.html.

ดาวเคราะห์บนท้องฟ้าเวลาหัวค�่ำของวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 2018

วันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 2018 เป็นวันเพ็ญขึ้น 15 ค�่ำเดือน 8 ครั้งที่ 2 ตรงกับ

วันอาสาฬหบูชา

บนท้องฟ้าเวลาค�่ำ

เป็นท้องฟ้าที่สวยงาม มีดวงจันทร์และดาวเคราะห์ดวงสว่างเรียงกันเป็นเส้นโค้งตามแนวสุริยวิถี จากทิศตะวันตกมาทาง

ทิศตะวันออก คือ

ดาวศุกร์

(โชติมาตร -4.2) เป็นดาวประจ�ำเมืองที่โดดเด่นอยู่ทางทิศตะวันตก

ดาวพฤหัสบดี

(โชติมาตร -2.3) เป็นดาวที่อยู่สูงเหนือขอบฟ้าทิศใต้มีมุมเงยประมาณ 60 องศา ในกลุ่มดาวคันชั่ง

ดาวเสาร์

(โชติมาตร 0.2) อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู เส้นโค้งขีดผ่านดาวศุกร์และดาวพฤหัสบดีจะผ่านดาวเสาร์

โดยดาวเสาร์จะอยู่ห่างดาวพฤหัสบดีไปทางตะวันออกประมาณ 30 องศา

ดาวอังคาร

(โชติมาตร -2.8) อยู่ในกลุ่มดาวมกร ปรากฏมีสีแดง สว่างอยู่ใกล้ๆ ดวงจันทร์ ซึ่งอยู่ใกล้ขอบฟ้าตะวันออก

ดาวอังคารสว่างกว่าดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ แต่สว่างน้อยกว่าดาวศุกร์และดวงจันทร์

ดวงจันทร์

เป็นจันทร์เพ็ญอยู่ใกล้ดาวอังคาร อยู่บนเส้นโค้งที่ลากผ่านดาวศุกร์ ดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์

ปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ ดวงจันทร์เรียงกันคล้ายเป็นสร้อยเพชรบนฟ้าเช่นนี้จึงดูสวยงามยิ่ง

Play Video