Previous Page  23 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 23 / 62 Next Page
Page Background

23

ปีที่ 41 ฉบับที่ 184 กันยายน - ตุลาคม 2556

หลังจากนั้น มีการขยายโครงการสู่สังคม สร้างแนวทาง

การศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาเส้นทางใหม่ที่ไม่ต้องสอบ

คัดเลือก มีการใช้กระบวนการวัดและประเมินผลแบบใหม่ที่

เป็นระบบมากขึ้น และมีกฎหมายการศึกษาพิเศษฉบับใหม่

เพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ. 2540 ซึ่งทำ

�ให้การคัดเลือกแตกต่างจากเดิม

สำ

�หรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษวิชาคณิตศาสตร์และ

วิชาวิทยาศาสตร์ จะต้องมีคะแนนในวิชาดังกล่าวสูงกว่า 1.5

เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเหนือค่าเฉลี่ย และมีคะแนน

เฉลี่ยสะสมในระดับชั้นอยู่ใน 1 % สูงสุดของนักเรียนในระดับ

เดียวกัน นอกจากนี้จะต้องแสดงศักยภาพในการเข้าร่วมแข่งขัน

ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ (Wu & Cho, 1993)

ในปี พ.ศ. 2549 นักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษเพิ่ม

จำ

�นวนขึ้นอย่างมีนัยสำ

�คัญ แต่โรงเรียนที่มีหลักสูตรสำ

�หรับเด็ก

เหล่านี้มีเพียง 13 % เท่านั้น ในขณะที่การเพิ่มจำ

�นวนห้องเรียน

พิเศษยังมีอุปสรรคจากทัศนคติของผู้ปกครอง รัฐบาลจึง

ต้องการให้มีระบบการคัดเลือกที่ยากขึ้น โดยให้นักเรียนที่ผ่าน

การคัดเลือกต้องมีคะแนนเหนือกว่าเปอร์เซ็นไทล์ ที่ 97 และ

ผ่านการสอบคัดเลือกเบื้องต้นจากโรงเรียนในท้องถิ่น ผ่านการ

สอบปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ การสอบสัมภาษณ์ เป็นต้น

(Ministry of Education, Republic of Taiwan, 2102)

ปี พ.ศ. 2552 ไต้หวันได้มุ่งเน้นวิชาวิทยาศาสตร์มากขึ้น

รัฐบาลได้มุ่งเน้นวิชาวิทยาศาสตร์ขั้นสูงโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน

ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ทำ

�ให้ไต้หวันประสบความ

สำ

�เร็จจากการแข่งขันในเวทีโลก คือ การแข่งขันคณิตศาสตร์

และวิทยาศาสตร์โอลิมปิก ซึ่งเป็นแผนพัฒนาโครงการในระยะ

ยาว และนั่นเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดความสนใจในการเรียนรู้ทาง

วิทยาศาสตร์มากขึ้น (Gifted Phoenix, 2013)

ปี พ.ศ. 2555 ไต้หวันยังคงมีการอบรมนักเรียนสำ

�หรับการ

แข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ มีการจัดการแข่งขัน

ภายในประเทศในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ

คอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา มีการริเริ่มโครงการใหม่ ๆ

ทางวิทยาศาสตร์และติดตามผลการดำ

�เนินการ และไต้หวันยัง

คงพัฒนาโครงการอัจฉริยภาพอย่างต่อเนื่อง

จากผลการแข่งขันในเวทีโลก หรือผลการประเมินระดับ

นานาชาติ เช่น โครงการ PISA พบว่า ในปี พ.ศ. 2553 ไต้หวัน

ได้อันดับ 5 ของโลกในวิชาวิทยาศาสตร์ อันดับที่ 12 ในวิชา

คณิตศาสตร์ แสดงว่าไต้หวันกำ

�ลังเดินมาถูกทาง อย่างไรก็ตาม

ไต้หวันยังคงแก้ปัญหาที่พบต่อไป ไม่ว่าจะเป็น ความเข้าใจผิด

ต่อการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ นอกจากนี้ถึงแม้

บรรณานุกรม

Discover Taiwan. (2013, May). General information. Retrieved July 20, 2013,

from

http://eng.taiwan.net.tw/m1.aspx?sNO=0000202

Gifted Phoenix. (2013, February). Education in Taiwan part 1. Retrieved

July 18, 2013, from

http://giftedphoenix.wordpress.com/2013/02/17/

giftededucation-in-taiwan-part-one

Gifted Phoenix. (2013, February). Education in Taiwan part 2. Retrieved July

18, 2013, from http://gifted

phoenix.wordpress.com/2013/02/17/

(gifted

education-in-Taiwan-part-two)

Hsin - tai, Lin, & Wu, Tzu-hui. (1991, January). Gifted education in Taiwan in

Current Trends in Gifted and Talented Education in Taiwan.

Republic of

China Gifted Education International

, 7, 85-92.

Ministry of Education, Republic of China (Taiwan). (2012, December ).

Introduction of Special Education, Retrieved July 19, 2013, from

http://140.111.1.127/ct.asp?xItem=11631&ctNode=783&mp=1

Wu, W. T . & Cho, S. (1993).

Programs and practices for identifying and

nurturing giftedness and talent in Asia (outside the Mainland of China)

.

In K. A. Heller, F. J. Monks, & A. H. Passow (Eds.).

International handbook

of research and development of giftedness and talen

t, 797-807.

Wu, Wutien. (1989, May). Cultivating Genius. Retrieved July 18, 2013, from

http://taiwaninfo.nat.gov.tw/ct.asp?xItem=128975&CtNode=124&h

tx_TRCategory=&mp=4

รัฐบาลจะมีนโยบายส่งเสริมกระบวนการคิด แต่ยังมีข้อจำ

�กัด

ในเรื่องกระบวนการประเมินผล และการให้การศึกษาแก่ครู

ผู้สอน

ปัจจุบันไต้หวันยังคงดำ

�เนินแนวทางตามหนังสือปกขาว

(The white book of gifted education) ที่ระบุแผนพัฒนา

ในอนาคต 7 ประการ ได้แก่ กระตุ้นการวิจัยทางวิทยาศาสตร์

และการนำ

�ไปใช้ การปรับกฎข้อบังคับต่าง ๆ ให้มีความยืดหยุ่น

มากขึ้น รักษาแนวทางการดำ

�เนินงานโครงการอัจฉริยภาพ

ยกระดับการศึกษาให้แก่ครูและเพิ่มขีดความสามารถให้ครูใน

โครงการอัจฉริยภาพ เพิ่มมาตรฐานในการวัดผลและประเมิน

ผล เผยแพร่หนังสือปกขาว ก่อตั้งศูนย์วิจัยโครงการพัฒนา

อัจฉริยภาพระดับชาติ และผลักดันให้เกิดแหล่งข้อมูลสำ

�หรับ

การพัฒนาอัจฉริยภาพในระดับอาเซียน (Gifted Phoenix,

2013), (Ministry of Education, Republic of Taiwan,

2102)

จากทั้งหมดนี้ทำ

�ให้มองเห็นภาพว่า ความพยายามจาก

หลายภาคส่วนและการลงมืออย่างจริงจัง โดยเริ่มจากการ

ลองผิดลองถูก และค่อยปรับปรุงแก้ไขปัญหา ทำ

�ให้การศึกษา

ของไต้หวันดำ

�เนินมาถึงจุดนี้ได้ สำ

�หรับประเทศไทยก็ยังไม่

ยอมแพ้ และยังคงหาหนทางพัฒนาโครงการอัจฉริยภาพ

สำ

�หรับเด็กไทยต่อไป...