Table of Contents Table of Contents
Previous Page  46 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 46 / 62 Next Page
Page Background

46

นิตยสาร สสวท.

Chu ยังเป็นนักเคลื่อนไหวคนส�

ำคัญในการเตือนสังคมให้

ตระหนักภัยโลกร้อนด้วย เมื่อได้รับเลือกเป็นกรรมการคนหนึ่ง

ของกรรมาธิการ Copenhagen Climate Council ซึ่งเป็น

องค์กรที่มีนักวิทยาศาสตร์ และนักธุรกิจท�

ำงานร่วมกัน

ด้วยผลงานการพยายามสร้างพลังงานสะอาด ในปีค.ศ.2008

ประธานาธิบดี Barack Obama แห่งสหรัฐจึงเลือก Steven

Chu นักฟิสิกส์รางวัลโนเบลให้เป็นรัฐมนตรีกระทรวงพลังงาน

เพราะ Obama ต้องการส่งสัญญาณให้ประชาชนอเมริกันรู้ว่า

สหรัฐฯ ต้องการแก้ปัญหาโลกร้อนโดยให้นักวิทยาศาสตร์

ค้นหาเทคโนโลยีรูปแบบใหม่ที่เป็นพลังงานสะอาดและเป็น

มิตรกับสิ่งแวดล้อม Chu จึงเป็นนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล

คนแรกที่เข้ารับต�

ำแหน่งรัฐมนตรีในคณะรัฐบาลของ Obama

และนั่นหมายความว่าในการประชุม คณะรัฐมนตรีทุกครั้ง

จะมีนักฟิสิกส์รางวัลโนเบลเข้าร่วมประชุมด้วย

ดังนั้นจากต�

ำแหน่งผู้อ�

ำนวยการที่ LBNL ซึ่งได้รับงบ

ประมาณปีละ 600 ล้านดอลลาร์ และมีบุคลากรใต้บังคับบัญชา

4,000 คน มาด�

ำรงต�

ำแหน่ง รัฐมนตรีท�

ำให้ Chu ต้องบริหารเงิน

งบประมาณ 24,000 ล้านดอลลาร์/ปี และควบคุมการท�

ำงาน

ของห้องปฏิบัติการระดับชาติ 17 แห่งเพื่อหาพลังงานทดแทน

พัฒนาพลังงานนิวเคลียร์ เลือกวิธีก�

ำจัดกากกัมมันตรังสี วิจัย

ฟิสิกส์ของอนุภาคมูลฐาน พัฒนาจุลินทรีย์ที่สามารถแปลง

cellulose เป็นเชื้อเพลิง และสร้างเทคโนโลยีที่ท�

ำให้เชื้อเพลิง

ชีวภาพมีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย

ตามปกติ คนที่จะมาด�

ำรงต�

ำแหน่งรัฐมนตรีพลังงาน

มักเป็ นนักการ เมืองหรือนักธุรกิจที่ไม่ มีภูมิหลังด้ าน

วิทยาศาสตร์ ดังนั้นเมื่อ Obama ตัดสินใจเลือก Chu มาท�

ำงาน

บริหารและการเมือง หลายคนจึงกังวลว่า ความเก่งในห้อง

ปฏิบัติการของ Chu อาจไม่เพียงพอที่จะท�

ำให้งานการเมืองลุล่วง

เพราะรัฐมนตรีต้องท�

ำหน้าที่ทุกเรื่องอย่างประนีประนอม และ

ชักจูงให้ฝ่ายอื่นๆ เห็นคล้อยตาม ต้องพยายามอธิบายข้อจ�

ำกัด

ของวิทยาศาสตร์ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเข้าใจ ต้องพบปะ

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสมาชิกอย่างสม�่

ำเสมอ อีกทั้ง

ต้องใช้เหตุผลหักล้างความเห็นของคนที่ไม่เห็นด้วย ซึ่ง Chuก็เชื่อว่า

รางวัลโนเบลของเขาคงมีน�้

ำหนักท�

ำให้ผู้คนเชื่อค�

ำอธิบาย และ

ค�

ำชี้แนะบ้าง เพราะการสนทนากันจะท�

ำให้นักการเมืองคิด

อะไร ๆ ในเชิงวิทยาศาสตร์มากขึ้น แทนที่จะยึดติดอุดมการณ์

ส่วนตัวโดยไม่ฟังเหตุผลในมุมมองของวิทยาศาสตร์เลย

หลังจากที่เวลาผ่านไป 4 ปี Chu ก็ได้ประกาศอ�

ำลา

ต�

ำแหน่งรัฐมนตรี โดยไม่เข้าร่วมกับคณะรัฐบาลของ Obama

ในวาระที่สอง และได้ลาออกเมื่อวันที่ 22 เมษายน ค.ศ. 2013

เพื่อกลับไปท�

ำงานที่มหาวิทยาลัย Stanford

ในด้านชีวิตส่วนตัว เมื่ออายุ 49 ปี Chu ได้แต่งงานใหม่

กับ Jean Fetter นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน และมีบุตรชาย 2 คน

ซึ่งเกิดจากภรรยาคนแรก Lisa Chu-Thielbar

นอกจากวิทยาศาสตร์แล้ว Chu ยังสนใจเบสบอล ว่ายน�้

เทนนิส กระโดดน�้

ำ และจักรยาน แต่ Chu พูดภาษาจีนไม่ได้เลย

เพราะพ่อแม่ไม่เคยสนทนากับ Chu และพี่น้องเป็นภาษาจีน

บรรณานุกรม

Chu, Steven. (1992). Laser Trapping of Neutral Particles.

Scientific

American.

February.

รูปที่ 4

(ที่มา:

https://www.youtube.com/watch?v=JKYNnmVBcY4)