Table of Contents Table of Contents
Previous Page  55 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 55 / 62 Next Page
Page Background

sequence&series

Calculus

probability

หนังสือล�

ำดับและอนุกรมเล่มนี้มีเนื้อหาใหม่ที่น่าสนใจมากมาย เช่น เนื้อหาเกี่ยวกับ

ล�

ำดับฮาร์มอนิก ความสัมพันธ์เวียนเกิด อนุกรมเลขคณิต-เรขาคณิตอนันต์ อนุกรมบวก

และการทดสอบการลู่เข้า อนุกรมก�

ำลังอย่างง่าย เรื่องน่ารู้ของ e และการประยุกต์

เกี่ยวกับคณิตศาสตร์การเงิน อาทิ ปัญหาดอกเบี้ยทบต้น มูลค่าปัจจุบันและมูลค่าอนาคต

การผ่อนและการฝากประจ�

ำ เป็นต้น

ผู้เขียนต้นร่าง

ดร.สมพงษ์ ฉุยสุริฉาย

หนังสือแคลคูลัสเบื้องต้นเล่มนี้เพิ่มเติมจากหนังสือเรียนตามหลักสูตรและได้จัดท�

ำเพื่อ

เสริมศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับลิมิต

และความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ กราฟและการประยุกต์ของอนุพันธ์ และได้เพิ่ม

เติมเนื้อหาที่น่าสนใจ เช่น บทนิยามของลิมิตของฟังก์ชันแบบ อนุพันธ์และ

เศรษฐศาสตร์ และปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่เกิดจากการหมุน

ผู้เขียนต้นร่าง

ผศ.ดร.ธนะศักดิ์ หมวกทองหลาง

คณะผู้จัดท�

ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือชุดนี้จะเสริมความรู้คณิตศาสตร์ให้กับนักเรียนที่ต้องการเพิ่มศักยภาพของ

ตนเอง เป็นการเปิดโลกทัศน์แห่งการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความรู้ทางคณิตศาสตร์นอกเหนือจากที่มีอยู่ในหนังสือเรียน

ตามหลักสูตร โดยนักเรียนสามารถใช้หนังสือชุดนี้ในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง หรือครูอาจใช้เป็นเอกสารประกอบการอบรมให้

กับนักเรียน นอกจากประโยชน์ที่นักเรียนจะได้รับแล้ว ครูสามารถใช้หนังสือชุดนี้ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อเพิ่มพูนความรู้ของตน อีก

ทั้งนิสิต นักศึกษา สามารถใช้หนังสือดังกล่าวเพื่อสร้างความรู้พื้นฐานในการศึกษาคณิตศาสตร์ระดับปริญญาตรี

ในโอกาสนี้ ผู้เขียนบทความขอขอบคุณ รศ.ดร.วิชาญ ลิ่วกีรติยุตกุล บรรณาธิการหนังสือชุดนี้ ที่ได้เสียสละเวลา

แก้ไขปรับปรุงหนังสือจนเสร็จสมบูรณ์

ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในหนังสือเล่มนี้ เป็นส่วนขยายในเชิงทฤษฎีและมี

ตัวอย่างที่น่าสนใจมากมาย ในบทที่หนึ่งจะกล่าวถึงทฤษฎีบทเกี่ยวกับการนับเพิ่มเติม

บทที่สองเป็นการแนะน�

ำความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข เนื่องจากในบางสถานการณ์

ที่เงื่อนไขตั้งต้นอาจเปลี่ยนไป ผู้อ่านควรสามารถหาความน่าจะเป็นใหม่ได้ และสามารถ

เปรียบเทียบกับความน่าจะเป็นภายใต้เงื่อนไขดั้งเดิมว่าโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ที่สนใจ

เป็นไปได้มากขึ้น น้อยลง หรือเท่าเดิม ส่วนในบทสุดท้ายเป็นการนิยามความน่าจะเป็น

ในรูปแบบที่เป็นนามธรรมมากขึ้นซึ่งท�

ำให้ผู้อ่านมีความพร้อมในการเรียนทฤษฎีความน่าจะเป็น

ในระดับสูงต่อไป

ผู้เขียนต้นร่าง

ดร.กิตติพัฒน์ วอง

ปีที่ 43 ฉบับที่ 192 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2558

55