

3
ปีที่ 43 ฉบับที่ 195 กรกฎาคม - สิงหาคม 2558
นิตยสาร สสวท.
3
จากกิจกรรมสืบเสาะหาความรู้เรื่อง แสงเลเซอร์สอง
กิจกรรมแรก ที่ได้น�
ำเสนอไปแล้วนั้น เป็นการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
เกี่ยวกับสมบัติของแสงเลเซอร์และหลักการของการก�
ำเนิด
แสงเลเซอร์ ผ่านการอภิปราย การคิดวิเคราะห์ และลงมือ
ปฏิบัติเพื่อส�
ำรวจ บันทึกผล และสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง
จากหลักฐานที่ได้ ส�
ำหรับในกิจกรรมที่ 3 นี้ จะเป็นการน�
ำเสนอ
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการน�
ำแสงเลเซอร์
มาใช้ประโยชน์
ซึ่งจะเป็นการปิดท้ายของชุดกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง แสงเลเซอร์ ที่ผู้เขียนได้น�
ำเสนอต่อเนื่องมา ตั้งแต่ช่วงเริ่มปี
พ.ศ. 2558 ซึ่งผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้สอนที่ได้น�
ำกิจกรรม
การเรียนรู้ไปจัดให้กับผู้เรียน ไม่ว่าจะเป็นในชั่วโมงเรียน
ชั่วโมงกิจกรรม หรือค่ายวิทยาศาสตร์ จะสามารถสร้างความรู้
ความเข้ าใจพื้นฐานเกี่ยวกับแสง เลเซอร์ ที่คงทนให้ กับ
ผู้เรียนได้เป็นอย่างดี พร้อมทั้งสร้างแรงบันดาลใจในการค้นคว้า
เพิ่มเติมส�
ำหรับการเรียนต่อในระดับสูง และสร้างความตระหนัก
กับผู้เรียนให้ได้เห็นคุณค่าของบทบาทของวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีเกี่ยวกับแสงในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามเป้าหมาย
ของวาระที่องค์การสหประชาชาติ หรือ UN (United Nations)
ที่ได้ประกาศให้ปีพ.ศ. 2558 นี้ เป็นปีสากลแห่งแสงและเทคโนโลยีแสง
(International Year of Light and Light-Based Technology)
(ผู้สนใจเกี่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ ของการรณรงค์ครั้งนี้ สามารถ
หาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์
http://www.light2015.org/Home.html)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3
แสงเลเซอร์น�
ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร
เวลา
90 – 120 นาที
จุดประสงค์การเรียนรู้
1) อธิบายหลักการและแนวทางที่เกี่ยวข้องกับการน�
ำ
แสงเลเซอร์ไปประยุกต์ใช้
2) ยกตัวอย่างบทบาทของเทคโนโลยีด้านแสงเลเซอร์
ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
วัสดุอุปกรณ์
1) เลเซอร์พอยเตอร์ Class II
2) แบตเตอรี่ส�
ำหรับใช้กับเลเซอร์พอยเตอร์
3) เทปกาว
4) กระดาษแข็งหนาหรือกระดาษลัง
5) สปริงจากปากกาแบบกด
6) กระดาษสีขาวขนาด A4 1 แผ่น
7) หนังสือหรือกล่องที่มีรูปทรงแข็งแรง
8) ไม้บรรทัด
9) ไม้เมตร
ต้อนรับปีแห่งแสง พ.ศ. 2558
กับกิจกรรมสืบเสาะหาความรู้เรื่อง
แสงเลเซอร์ (3)
รักษพล ธนานุวงศ์
นักวิชาการ สาขาฟิสิกส์ สสวท. / e-mail
rthan@ipst.ac.thสแกนโค้ดนี้เพื่อ
ชมภาพเคลื่อนไหวี
ที่ ั
บี่ ิ
ง