

นิตยสาร สสวท.
10ิ
ต
ย้อนกลับ
ไปในสมัยก่อน ในยุคที่ยังไม่มีการประดิษฐ์
กล้ องโทรทรรศน์ นักดาราศาสตร์ ก็ใช้ การ
สังเกตการณ์
ดวงดาวบนท้ องฟ้ าด้ วยตาเปล่ า
เหมือนกับคนธรรมดา
อย่างเรานี่แหละ ตัวอย่างเช่น ฮิปปาร์คัส (Hipparchus)
นักดาราศาสตร์ นักภูมิศาสตร์ และนักคณิตศาสตร์ชาวกรีก
ในยุคเฮเลนิสติก (Hellenistic) สังเกตพบว่าดาวแต่ละดวง
ปรากฏสว่างมากน้อยไม่ เท่ากัน เขาจึงก�
ำหนดเป็นอันดับ
ความสว่าง (โชติมาตร) ของดวงดาวตามที่เราได้เรียนรู้กัน
ในบทเรียน และยังจัดท�
ำแคตตาล็อกดาวฉบับแรกของโลก
ตะวันตกซึ่งมีข้อมูลเกี่ยวกับดาว 850 ดวงขึ้นอีกด้วย ซึ่งเป็น
ประโยชน์ต่อวงการดาราศาสตร์อย่างมาก
ใครที่อยู่ต่างจังหวัด ตึกรามบ้านช่องมีไม่มากนัก รวมถึงไม่ค่อยมีแสงไฟจากถนนมารบกวน ก็คงได้เต็มอิ่มกับการนอน
ดู “ดาวล้านดวง” บนท้องฟ้าได้ทุกวัน ผิดกับคนในเมืองที่บางคืน “ดาวสักดวง” ก็ไม่ยอมโผล่มาให้เห็น คนในเมือง
จึงมักจะจินตนาการกันไม่ออกว่าบนท้องฟ้าของเรามีดาวมากมายขนาดไหน คุณผู้อ่านมีวิธีไหนบ้างที่จะช่วยคนเมือง
ผู้น่าสงสารเหล่านี้?
บนท้องฟ้ามีดาวกี่ดวง
รูปที่ 1 ฮิปปาร์คัส
ที่มา
http://www.nmspacemuseum.org/halloffame/images.php?image_
สุภัคสรณ์ รุ่งศรี
ผู้ช�
ำนาญ สาขาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สสวท. / e-mail:
srung@ipst.ac.th