

นิตยสาร สสวท.
8
ผู้ สอนให้ ผู้ เรียนท�
ำกิจกรรมการจ�
ำลองค้ นพบ
โครงสร้างของ DNA ด้วยการใช้เทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์
ของโรซาลินด์ แฟรงคลิน (30 นาที) โดยเริ่มจากให้ผู้เรียน
น�
ำอุปกรณ์ที่เตรียมไว้ส�
ำหรับแต่ละกลุ่มมาไว้ที่โต๊ะ จากนั้น
ให้น�
ำสปริงที่หาได้จากปากกาแบบกดทั่วไปมาวางไว้บนหนังสือ
หรือ กล่องที่มีรูปทรงแข็งแรง โดยให้สปริงอยู่ในแนวตั้ง
ใช้เทปกาว 2 หน้าเป็นวัสดุยึดติดสปริงกับหนังสือ ดังภาพที่ 10
ให้ผู้เรียนสังเกตลักษณะของแสงเลเซอร์ที่ปรากฏบนฉาก
และอภิปรายกับสมาชิกในกลุ่มถึงสาเหตุที่ท�
ำให้แสงเลเซอร์
มีลักษณะเช่นนั้น จากนั้น ให้ผู้เรียนวาดภาพและเขียนบรรยาย
เกี่ยวกับลักษณะของแสงเลเซอร์ที่ปรากฏ และบันทึกผล
การอภิปรายลงในใบกิจกรรม
ผู้เรียนควรได้ภาพของแสงเลเซอร์ที่ปรากฏบนฉาก
มีลักษณะคล้ายกับภาพที่ 13 ถ้าผู้ เรียนได้ภาพที่แตกต่าง
จากภาพที่ 13 ให้ตรวจสอบการจัดวางอุปกรณ์และพยายาม
จัดให้มีลักษณะคล้ายกับภาพที่ 12
น�
ำกระดาษ A4 สีขาว 1 แผ่น ไปติดไว้ที่ผนังส�
ำหรับ
เป็นฉากให้แสงเลเซอร์ตกกระทบ โดยให้ติดกระดาษอยู่ในระดับ
ที่ต�่
ำกว่าระดับสายตาของผู้ท�
ำกิจกรรม เพื่อความปลอดภัย จากนั้น
จัดวางหนังสือที่ติดกับสปริงปากกาให้ห่างจากฉากที่เตรียมไว้
ในระยะ 1 – 2 เมตร และ ในแนวเดียวกัน จัดวางหนังสือที่ติด
กับเลเซอร์พอยเตอร์ ให้ห่างจากสปริงปากกาในระยะและ
ระดับที่พอดีกับการให้แสงเลเซอร์ ส่องผ่ านสปริงปากกา
แล้วท�
ำให้เกิดลวดลายของแสงเลเซอร์บนฉาก ดังภาพที่ 12
น�
ำเลเซอร์พอยเตอร์ไปวางไว้บนหนังสืออีกเล่มหนึ่ง
คาดเทปกาวบนตัวเลเซอร์พอยเตอร์ โดยให้เทปกาวกดลงที่ปุ่ม
ของเลเซอร์พอยเตอร์พอดี เพื่อให้ปล่อยแสงเลเซอร์ออกมา
อย่างต่อเนื่อง ดังแสดงในภาพที่ 11
ผู้สอนให้ผู้ เรียนอภิปรายเพิ่มเติมเพื่อตอบค�
ำถาม
ต่อไปนี้ (10 นาที)
• การน�
ำแสงเลเซอร์มาส่องผ่านสปริงปากกา มีความคล้าย
กับการใช้รังสีเอกซ์ส่องผ่านโมเลกุลของ DNA อย่างไร
• ถ้าเรามองไม่เห็นหรือไม่สามารถสัมผัสสปริงปากกาได้
ภาพที่ปรากฏบนฉาก ช่วยให้เราทราบข้อมูลอะไรบ้าง
เกี่ยวกับสปริง
ภาพที่ 10 การติดสปริงปากกากับหนังสือหรือกล่องิ
ต
ภาพที่ 12 การจัดวางอุปกรณ์ของการจ�
ำลองการใช้เทคนิคการเลี้ยวเบน
รังสีเอกซ์ในการศึกษาโครงสร้าง DNA
ภาพที่ 13 ลักษณะของแสงเลเซอร์ที่ปรากฏบนฉากเมื่อผ่านสปริงปากกา
ภาพที่ 11 การใช้เทปกาวติดเลเซอร์พอยเตอร์กับหนังสือหรือกล่อง